Page 25 - InsuranceJournal105
P. 25

รอบรู้ประกันภัย






























                                                              ที่มา :  Carbon Credit นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด / สำนักงาน
                                                                            ที่ปรึกษาเศรษฐกิจและการคลังประจำกรุงโตเกียว

                                                  ี
                                                  ่
                                           ิ
                         ี
                                                    ็
                         ่
               การเปลยนแปลงของสภาพภูมอากาศทเปนผลจาก   โครงการลดการปล่อยก๊าซ และนําปริมาณก๊าซที่ลดได้
             ภาวะโลกร้อนเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและทวีความรุนแรงขึ้น   มารวมกับบัญชีลดการปล่อยก๊าซได้เช่นเดียวกับกลไกที่ 2
             จนกลายเป็นปัญหาที่ทั่วโลกตระหนักถึงความสําคัญ  กลไกดังกล่าวได้ทําให้เกิดการซื้อขายกรรมสิทธิ์ในความ

             ประเทศต่างๆ ทั่วโลกจึงได้มีการทําอนุสัญญาว่า ด้วยการ    เป็นเจ้าของก๊าซเรือนกระจกที่ลดได้ ซึ่งเรียกเป็นการทั่วไป
                               ิ
                ี
                ่
             เปลยนแปลงสภาพภูมอากาศ (United Nations Framework    ว่า คาร์บอนเครดิต และทําให้เกิดตลาดใหม่ที่เรียกว่าตลาด
             Convention on Climate Change: UNFCCC) ร่วมกันเพื่อแก้    คาร์บอน
             ปัญหาภาวะโลกร้อน และในภายหลังได้มีการทําข้อตกลง       ทั้งนี้ ในช่วงที่ผ่านมา ตลาดคาร์บอนมีการขยายตัว
             เพิ่มเติมได้แก่ พิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol) เพื่อให้    อย่างรวดเร็วอย่างต่อเนื่องตามความต้องการของประเทศ
                   ่
                                                       ั
                                          ื
                                                    ี
                                 ิ
                      ื
                                       ๊
             ความรวมมอในการลดปรมาณกาซเรอนกระจกมผลบงคบ   ที่พัฒนาแล้ว เนื่องจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจทําให้
                                                          ั
             ทางกฎหมาย โดยกําหนดให้ภายในปี พ.ศ. 2555 ทั่วโลก    ประเทศเหล่านี้มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเพิ่มขึ้น ขณะ
             ลดการปล่อยก๊าซลงจากปี 2533 ร้อยละ 5.2 และผลักดัน    เดียวกันก็มีพันธะที่จะต้องลดการปล่อยก๊าซให้ได้ตาม
             ให้กลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว และเป็นผู้ปล่อยก๊าซเรือน    ที่กําหนดภายในปี 2555 ทั้งนี้ ในปี 2550 มีมูลค่าการซื้อ
             กระจกรายใหญ่เป็นผู้นําในการลดการปล่อยก๊าซเรือน   ขายในตลาดคาร์บอนทั่วโลกสูงถึง 64,035 ล้านดอลลาร์
             กระจก                                            สหรัฐฯ และมีการคาดการณ์ว่าจะกลายเป็น ตลาดสินค้า
                                              ่
                                                 ่
                                                           ่
                      ิ
                                   ํ
                                  ้
                                              ื

                                                           ี
                       ี
                  ในพธสารเกยวโตไดกาหนดกลไกเพอชวยลดภาระท  โภคภัณฑ์ที่ใหญ่ที่สุดในโลกในปี 2020 ประเทศไทย
                            ี
                                        ื
                                                          ุ
                                     ๊

             จะเกดจากการลดการปลอยกาซเรอนกระจกและสนบสนน  เป็นประเทศหนึ่งที่ได้ร่วมให้สัตยาบันพิธีสารเกียวโตที่จะ
                                 ่
                 ิ
                                                      ั
                                                       ุ
                                              ่
                                            ้
                            ่
                            ี
                       ั
                 ิ
               ้
                             ่
                                  ้
             ใหเกดการพฒนาทยงยนไว 3 กลไก ไดแก 1) การอนญาต    ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก แต่ไม่อยู่ในกลุ่มที่ถูกกําหนด
                             ั
                               ื
             ให้ประเทศในกลุ่มที่ถูกกําหนดปริมาณการปล่อยก๊าซ  ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก หากประเทศไทย

             เรือนกระจก (Annex 1) สามารถซื้อขายสิทธิ์ในการปล่อย    ดําเนินการลดการปล่อยก๊าซโดยจัดทําในรูปแบบของ
             กาซดงกลาวได 2) การอนญาตใหประเทศในกลม Annex 1    โครงการภายใต้กลไกที่ 3 ก็จะสามารถขายคาร์บอนเครดิต
              ๊
                                                  ่
                         ้
                                                  ุ
                                        ้
                                  ุ
                     ่
                  ั
             ร่วมกันดําเนินโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และ    ที่ได้รับการจดทะเบียนจาก UNFCCC ให้กับประเทศอื่น
             นําปริมาณก๊าซที่ลดได้จากโครงการดังกล่าวมารวมกับ   หรือในตลาดคาร์บอนได้ แต่เนื่องจากยังมีปัจจัยที่เป็น
             บัญชีลดการปล่อยก๊าซได้ และ 3) การอนุญาตให้ประเทศ    อุปสรรคในการผลิตทั้งในส่วนของผู้ผลิตคาร์บอนเครดิต
             ในกลุ่ม Annex 1 ร่วมลงทุนกับประเทศที่เหลือดําเนิน    เอง การขาดประสบการณ์ของสถาบันการเงินที่เป็นแหล่ง
                                                                                            วารสารประกันภัย     25
                                                                                            ตุลาคม  -  ธันวาคม  2552
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30