Page 14 - InsuranceJournal106
P. 14
ู
รอบร้ประกันภัย
ในรอบปีที่ผ่านมาสมาคมประกันวินาศภัย ได้มี นอกจากนี้ สมาคมฯ ได้ดำเนินการนำเสนอต่อ
ส่วนร่วมในการพัฒนาและส่งเสริมธุรกิจประกันภัยให้มี สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบ
ความมั่นคงและเจริญเติบโต โดยมีส่วนร่วมในกระบวนการ ธุรกิจประกันภัย (คปภ.) ในการผลักดันกรมธรรม์ประกันภัย
พิจารณาปรับปรุงและกำหนดหลักเกณฑ์การกำกับดูแล แบบ “ไมโคร อินชัวรันส์” ไปสู่ประชาชนผู้มีรายได้น้อย
ธุรกิจประกันวินาศภัย เพื่อให้เกิดผลกระทบต่อธุรกิจ และเป็นคนกลุ่มใหญ่ของประเทศให้เข้าถึงการประกันภัย
ประกันวินาศภัยเท่าที่จำเป็น พร้อมทั้งศึกษาผลกระทบ ให้มากขึ้น โดยตั้งเป้าเพิ่มอัตราจำนวนผู้ถือครองกรมธรรม์
อันอาจเกิดจากปัญหาการบังคับใช้กฎระเบียบของการ เป็น 50% หรือประมาณ 30 ล้านกรมธรรม์ ภายใน 3-5 ปี
กำกับดูแลที่มีแนวโน้มจะเข้มงวดขึ้น เพื่อนำเสนอหน่วยงาน นับจากนี้ จากปัจจุบันตัวเลขการถือครองกรมธรรม์มีเพียง
กำกับดูแล เพื่อให้แนวทางและกฎเกณฑ์ในการกำกับ ประมาณ 25% ของจำนวนประชากรทั้งหมด 63 ล้านคน
ดูแลเหมาะสม ยืดหยุ่น ทันสมัย และเหมาะกับสภาพ ซึ่งเรื่องดังกล่าวสมาคมฯ ได้เตรียมแผนงานและพร้อม
ธุรกิจประกันวินาศภัยและไม่เป็นภาระต่อบริษัทประกัน สนับสนุนโครงการดังกล่าวอย่างเต็มที่ โดยได้ดำเนินการ
วินาศภัยมากจนเกินไป รวมทั้งการเตรียมความพร้อมให้ ขออนุมัติกรมธรรม์ประกันภัยแบบ “ไมโคร อินชัวรันส์”
ธุรกิจประกันภัยในการปรับตัวและเตรียมความพร้อมเรื่อง และช่องทางการจำหน่ายกรมธรรม์ประกันภัยในรูปแบบ
ของกฎเกณฑ์ ข้อบังคับต่างๆ โดยเฉพาะเรื่อง RBC และ ใหม่ต่อสำนักงาน คปภ. โดยอัตราเบี้ยประกันภัย ไม่เกิน
กฎระเบียบด้านการบัญชี การเงิน และการลงทุนต่างๆ 1,000 บาทต่อปี และเป็นกรมธรรม์ประกันภัยที่เข้าใจง่าย
ของบริษัทประกันภัย ซึ่งสมาคมฯ ได้ให้ความสำคัญใน ไม่ซับซ้อน ทั้งนี้ เพื่อเป็นการส่งเสริมการเติบโตของตลาด
การสร้างความเข้าใจแก่ผู้บริหารระดับสูงของบริษัท “ไมโคร อินชัวรันส์” ในประเทศไทยให้โตตามเป้าที่ตั้งไว้
สมาชิกเกี่ยวกับกฎหมาย หลักเกณฑ์ ระเบียบและทิศทาง ในปี 2553 สมาคมฯ คาดการณ์ว่าธุรกิจประกัน
ของการกำกับดูแลธุรกิจของทางการ เพื่อสร้างความ วินาศภัยจะมีการแข่งขันในการรับประกันภัยรายบุคคล
พร้อมให้กับธุรกิจในส่วนที่เกี่ยวข้องกับกฎระเบียบที่มีอยู่ มากขึ้น เช่น ประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคล, ประกันสุขภาพ,
และที่กำลังจะนำมาใช้ในอนาคต คุ้มครองโรคร้ายแรง และชดเชยรายได้ การขยายตลาด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญในด้านการประกันภัย กลุ่มนี้จะเป็นผลดีต่อธุรกิจประกันภัยในไทย เพราะเป็น
ประเภทต่างๆ คือ สมาคมฯ ได้ร่วมกันผลักดันในเรื่อง กลุ่มที่สามารถเก็บความเสี่ยงและเบี้ยไว้ในประเทศได้
การนำหลักเกณฑ์ Cash Before Cover มาใช้สำหรับการ ส่วนตลาดประกันภัยรถยนต์ที่ครองเบี้ยในสัดส่วนประมาณ
ประกันภัยรถยนต์ ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. 2552 การร่วมกับภาค 60% ของตลาดประกันวินาศภัยก็น่าจะมีแนวโน้มเติบโต
รัฐรับประกันภัยในโครงการประกันภัยคุ้มครองชาวต่างชาติ ที่ดี หลังจากที่มีการคาดการณ์ยอดรถยนต์ใหม่ที่เพิ่มขึ้น
จากการจราจล การนำเสนอต่อกรมสรรพากรให้เบี้ยประกัน ในปี 2553 ส่วนการแข่งขันทางด้านราคายังคงมีอยู่บ้าง
สุขภาพ และเบี้ยประกันภัยอุบัติเหตุต่างๆ สามารถนำไป แต่อาจจะไม่รุนแรง เนื่องจากลูกค้าให้ความสำคัญกับ
หักค่าลดหย่อนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสำหรับเบี้ย การบริการและความมั่นคงของบริษัทประกันภัยมากขึ้น
ประกันภัย วงเงินไม่เกิน 50,000 บาทต่อคนต่อปี สิ่งต่างๆ ทั้งนี้ สมาคมฯ ได้ให้การสนับสนุนและเสริมสร้าง
เหล่านี้ช่วยให้บริษัทประกันภัยมีความมั่นคงและประชาชน ความพร้อมให้กับบริษัทสมาชิกเพื่อรับมือกับปัญหา
ได้รับประโยชน์สูงสุดจากการประกันภัย ซึ่งจะช่วยให้ เศรษฐกิจและปัญหาอื่นๆ อย่างเช่น การปรับปรุงระบบ
ประชาชนเกิดความสนใจในการทำประกันภัยเพิ่มขึ้น สิ่ง งานประกันภัย การพัฒนาระบบการให้บริการ การพัฒนา
ที่สำคัญอีกเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงความ บุคลากรโดยเน้นการสร้างมืออาชีพ พัฒนาการบริหาร
คุ้มครองและเงื่อนไขต่างๆ ของการประกันภัยที่เริ่มมีผล จัดการ พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การลดค่าใช้จ่าย
บังคับใช้ตั้งแต่เดือนมกราคม 2553 เป็นต้นไป คือ การ ซึ่งคณะกรรมการบริหารฯ ได้มอบหมายให้คณะกรรมการ
ปรับเพิ่มความคุ้มครองสำหรับการประกันภัยรถยนต์ภาค ประกันภัยทั้ง 7 คณะ ดำเนินการตามแผนงานและกิจกรรม
บังคับ การปรับปรุงพิกัดอัตราเบี้ยประกันภัย และการเริ่ม ตามแนวนโยบายของคณะกรรมการบริหารฯ ที่ได้กำหนด
ทดสอบ RBC ทั้งระบบทุกบริษัทตลอดปี 2553 ไว้
12 วารสารประกันภัย
มกราคม - มีนาคม 2553