Page 8 - InsuranceJournal106
P. 8

รอบร้ประกันภัย
                ู


             ปัจจุบันจะได้หันไปทำงานทางด้านอื่น และไม่จำเป็นต้อง
             จัดหาหรือผลิตบุคลากรอื่นมาทดแทนหรือเสริมให้มากขึ้น
             เพื่อเป็นการใช้ทรัพยากรมนุษย์ที่มีน้อยอยู่แล้ว ให้คุ้มค่า
             ขึ้น แต่การใช้พลังงานนิวเคลียร์ทางด้านอื่น เช่น การแพทย์

             การเกษตร อุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานจะยังคง
             ต้องมีอยู่ แต่การใช้นโยบายที่เป็นแบบรอดูท่าทีไปก่อน
             เรื่อยๆ เช่น ปัจจุบันทำให้ต่างฝ่ายต่างหยุดคุมเชิงอยู่ แต่     การประกอบแท่งเชื้อเพลิงนิวเคลียร์       บ่อน้ำเก็บเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ใช้แล้ว
             ไม่มีการพัฒนาใดๆ ที่มีความหมายเกิดขึ้นอย่างจริงจัง
                  การกำหนดนโยบายที่ชัดเจนเป็นเรื่องที่ยาก ต้อง    6.  สรุป

             อาศัยความรู้ การมองการณ์ไกล เหตุผลที่แท้จริงและ       การสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ขึ้นในประเทศไทยนั้น

             ความกล้าหาญ เมื่อตัดสินใจอย่างหนึ่งอย่างใดลงไปแล้ว   มีปัจจัยเกื้อหนุนหลายประการ แต่จะเป็นไปได้มากน้อย
             ต้องมีความมั่นคงและพร้อมที่จะอธิบาย รวมทั้งยืนยันใน   หรือรวดเร็วเพียงใดนั้น ขึ้นอยู่กับว่ารัฐบาลเรามีความ
             สิ่งนั้นได้ ประเทศเราไม่สู้จะมีความสามารถในเรื่องนี้   พร้อมแค่ไหน ในการกำหนดนโยบายระยะยาว การตัดสินใจ
             มากนัก จึงทำให้เกิดปัญหาขึ้นมากมาย ต้องตามแก้   และดำเนินการตามขั้นตอนที่เหมาะสม การให้ความรู้แก่

             ปัญหาย้อนหลังกันอยู่ตลอดเวลา ทำให้เกิดความเสียหาย   ประชาชนทั้งในส่วนดีและส่วนไม่ดี ที่สามารถทำให้เข้าใจ

             และสิ้นเปลืองเงินทองเกินความจำเป็น ดังจะเห็นได้จาก  ผลที่จะตามมา จากการใช้หรือไม่ใช้พลังงานนิวเคลียร์ ปัจจัย

             ระบบสาธารณะ และสาธารณูปโภคต่างๆ เช่น ระบบขนส่ง  เรื่องการยอมรับจากประชาชนนี้เป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุดคือ
             มวลชน ประปา เขื่อน สนามบิน ท่าเรือ การคมนาคม จะต้องได้รับการยอมรับจากประชาชน ถึงระดับหนึ่งแล้ว

             สื่อสาร การป้องกันน้ำท่วม การป้องกันอัคคีภัย และการ  เท่านั้น จึงจะสามารถดำเนินโครงการได้
             บรรเทาสาธารณภัย ฯลฯ                              ข้อดีของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์

                  การออกกฎระเบียบและกฎหมายที่รองรับและควบคุม       1. เป็นแหล่งผลิตไฟฟ้าขนาดใหญ่ และมีความมั่นคง

             การใช้พลังงานนิวเคลียร์ในขณะนี้ยังไม่พร้อมเพียงพอ   สูง เนื่องจากสามารถเดินเครื่องผลิตไฟฟ้าได้ติดต่อกันนาน

             เนื่องจากยังไม่มีนโยบายที่แน่ชัด จึงทำให้เกิดความรู้สึกว่า  กว่าหนึ่งปีโดยไม่ต้องเติมเชื้อเพลิง
             ยังไม่รีบด่วน แต่หากไม่ทำและรอให้เกิดโครงการโรงไฟฟ้า      2. เป็นโรงไฟฟ้าที่สะอาด โดยไม่มีการปลดปล่อยก๊าซ
             นิวเคลียร์ขึ้นก่อน อาจจะมีปัญหาตามมาอีกหลายประการ  ที่เป็นมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะก่อให้เกิดฝนกรดหรือเกิด
             และไม่ก่อให้เกิดความมั่นใจแก่ประชาชนโดยทั่วไปได้   ปรากฏการณ์เรือนกระจก

             5.  การยอมรับจากประชาชน                               3. โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ สามารถใช้เชื้อเพลิงได้ประมาณ
                  ในขณะนี้ ยังไม่แน่ชัดว่าประชาชนคนไทยจะยอมรับ  1 ปี โดยไม่จำเป็นต้องมีเชื้อเพลิงใหม่มาเพิ่มเติม ทำให้การ

             การใช้พลังงานนิวเคลียร์เพื่อผลิตไฟฟ้าหรือไม่ แต่การ   จัดหาเชื้อเพลิงมีเสถียรภาพ

             หยั่งเสียงทันทีทันใดคงจะไม่เกิดประโยชน์ เพราะก่อนที่  ข้อเสียของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์

             จะมีการลงความเห็นใดๆ ของชนหมู่มากนั้น ควรที่ทุกฝ่าย     1. ต้องใช้เงินลงทุนก่อสร้างสูง และจำเป็นต้องเตรียม

             จะได้ให้ความรู้ ข้อมูล เหตุผล และผลที่จะเกิดขึ้นจากการ  โครงสร้างพื้นฐานและการพัฒนาบุคลากร เพื่อให้การ
             ตัดสินใจเลือกใช้ก็จะมีผลที่ตามมาทั้งในทางดีและไม่ดี  ดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

             แต่การตัดสินใจไม่ใช้ก็จะมีผลที่ตามมาทั้งในทางดีและ     2. จำเป็นต้องพัฒนาและเตรียมการเกี่ยวกับการ
             ไม่ดีเช่นกัน จึงน่าที่ทุกคนจะได้ใส่ใจในข้อนี้และพยายาม จัดการกากกัมมันตรังสี การดำเนินงานด้านแผนฉุกเฉิน

             ทำให้สังคมของเรามีความรู้ และมีความรับผิดชอบที่จะ ทางรังสี และมาตรการควบคุมความปลอดภัย เพื่อป้องกัน
             ก้าวไปข้างหน้าได้อย่างมั่นคง                     อุบัติเหตุ
                                                                   3.  การยอมรับของสาธารณชน


                                                                              ที่มา : ศูนย์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
                                                                                 (Science and Technology Knowledge Center)



      6     วารสารประกันภัย
            มกราคม  -  มีนาคม  2553
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13