Page 25 - InsuranceJournal116
P. 25
ร อ บ รู้ ป ร ะ กั น ภั ย
โดย ปรำณี ภำษีผล
ที่ปรÖกษำสมำคมประกันวินำศภัยไทย
ของชายและหญิง ขัดต่อมาตรา 30 ของ
รัฐธรรมนูญดังกล่าว ทงน มาตรา 57 ตรี
ั้
ี้
และมาตรา 57 เบญจ เป็นบทบัญญัติที่
แก้ไขประมวลรัษฎากรมาตั้งแต่ปี 2489
ั
และ 2534 ตามล�าดบ ซึ่งถือว่าเป็น
กฎหมายที่ล้าสมัยมีมากว่า 60 ปีแล้ว
จึงถือว่าเป็นค�าวินิจฉัยทเป็นคุณูปการต่อ
ี่
การยื่นเสียภาษีของสามีและภริยามาก
กรมสรรพากรได้ตอบสนองต่อ
ค�าวินิจฉัยดังกล่าว ได้ออกค�าชี้แจงกรม
สรรพากร เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2555
ศำลรัฐธรรมนูญ เรื่อง แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดเก็บ
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจากสามีและ
วินิจฉัยใหสามี ภริยาให้มีผลส�าหรับการเก็บภาษีเงินได้
ส�าหรับปีภาษี 2555 เป็นต้นไป โดยมิให้
ถือว่าเงินได้พึงประเมินของภริยาเป็นเงิน
และภริยาแยก ได้ของสามี รายละเอียดตามค�าชแจงเรอง
ื่
ี้
ดงกล่าวซงจะเป็นประโยชน์อยางมากใน
ึ
ั
่
่
การยนเสียภาษีเงินได้ประจ�าปีให้ถูกต้อง
ื่
ยื่นภาษีเงินได และเท่ากบเป็นการลดฐานภาษในการ
ี
ั
ค�านวณตามอัตราภาษีเงินได้ ท�าให้สามี
และภริยาเสียภาษีน้อยลง
เป็นข่าวดีทศาลรัฐธรรมนูญได้อ่าน การทศาลรัฐธรรมนูญมีค�าวินิจฉัย
ี่
ี่
ค�าวินิจฉัย เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2555 ดังกล่าว เนื่องจากมาตรา 30 วรรคแรก
และให้มีผลทันที โดยให้สามีและภริยา ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ื่
แยกยนรายการและเสียภาษีต่างหากจาก พุทธศักราช 2550 ก�าหนดให้ “บุคคล
ั
กนได้ เพื่อเป็นการส่งเสริมความเสมอ ย่อมเสมอกันในกฎหมาย และได้รับความ
ภาคของชายและหญิง เนื่องจากมาตรา คุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน ชาย
ี
57 ตร และมาตรา 57 เบญจ ตาม และหญิงมีสิทธเท่าเทียมกัน” ดังนน ศาล
ิ์
ั้
ื
�
้
ประมวลรัษฎากร กาหนดให้ถอเอาเงินได จึงมีค�าวินิจฉัยที่ 17/2555 ลงวันที่ 1
ของภริยาเปนรายได้ของสาม สามีมีหน้า กรกฎาคม 2555 ว่าการจัดเก็บภาษีเงิน
็
ี
ที่ยื่นรายการและเสียภาษี ทั้งนี้ ยกเว้น ได้บุคคลธรรมดาจากสามีและภริยาตาม
เฉพาะเงินได้ของภริยา ตามมาตรา 40 มาตรา 57 ตรี และมาตรา 57 เบญจ
(1) คือ เงินได้ประเภทเงินเดือน ค่าจ้าง แห่งประมวลรัษฎากร เป็นการจ�ากัดสิทธ ิ
ื่
ื่
ภริยาจะแยกยนรายการและเสียภาษีต่าง สามีและภริยาในการยนรายการและเสีย
หากจากสามีก็ได้ ภาษี ซึ่งถือว่าไม่ส่งเสริมความเสมอภาค
25