Page 13 - InsuranceJournal133
P. 13
วิชาการ IPRB
ประกันภัยประมง (Aquaculture Insurance)
�
ื
ึ
ี
�
ื
ภาคเกษตรกรรมในประเทศไทยมีความต่นตัวต่อการทาประกันภัยมากข้นเร่อย ๆ การประกันภัยพืชผลก็กาลังเป็นท่สนใจในภาค
เกษตรกรรม อย่างไรก็ตาม ภาคประมงของประเทศไทยเองก็ถือว่าอยู่ในอันดับต้น ๆ ของโลก การประกันภัยประมงจึงนับว่าอยู่ในกลุ่มที่น่าจับตา
มอง การประกันภัยประมงนั้นมีความหมายที่กว้างไม่เฉพาะครอบคลุมแต่เพียงสัตว์น�้าที่เพาะเลี้ยงในฟาร์มปิด แต่ยังรวมถึงการท�าฟาร์มประมง
้
�
ั
ี
ึ
ท้งนาจืดและในทะเล ในแหล่งธรรมชาติ นอกจากน้ ปัจจุบันปรากฎการณ์เอลนีโญสร้างความแปรปรวนในระบบนิเวศมากข้นกว่าเดิม การทา �
ประกันภัยจึงเป็นตัวช่วยที่ดีในการกระจายความเสี่ยง
ความคุ้มครอง : ประกันภัยประมงให้ความคุ้มครองต่อความเสียหายต่าง ๆ จากหลากหลายสาเหตุ
ความเสียหายจากเหตุปนเปื้อน และโรคระบาด
ความเสียหายจากสัตว์นักล่า
ความเสียหายจากพายุ
ความเสียหายจากการกระท�าประสงค์ร้าย
ความเสียหายจากสภาวะแพลงค์ตอนบลูม
ความเสียหายจากน�้าท่วม น�้าแล้ง
้
ั
�
เงื่อนไข/ข้อยกเว้นทั่วไป : การให้ความคุ้มครองต่อฟาร์มประมงโดยท่วไปจะถูกจากัดอยู่ในกลุ่มสัตว์นาเศรษฐกิจท่สาคัญเท่าน้น
�
�
ี
ั
ี
ี
ั
ี
�
�
ตัวอย่างเช่น บังคลาเทศจะมีเพียงสัตว์จาพวกกุ้งเท่าน้นท่ทาประกันภัยได้ ขณะเดียวกัน ท่ญ่ปุ่นแม้กระท่ง
ั
ฟาร์มสาหร่ายและฟาร์มหอยมุกก็สามารถท�าประกันภัยประเภทนี้ได้
ตัวอย่างสถานการณ์ : ฟาร์มกุ้งน�้าจืดได้รับความเสียหายจากเหตุเรือบรรทุกน�้าตาลล่ม เกิดการปนเปื้อนในแหล่งเพาะพันธุ์ท�าให้เกิด
ความเสียหาย
ี
รายละเอียดของการประกันภัยข้างต้นเป็นแค่ตัวอย่างพอให้เห็นภาพในสาระสาคัญหลักของประกันภัยประเภทต่าง ๆ ท่กล่าวไปเท่าน้น
ั
�
ในความเป็นจริงกรมธรรม์อาจมีความแตกต่างกันไปตามข้อตกลง สาระสาคัญคือการเปล่ยนแปลงและการพัฒนาของสังคมโลกท่ทาให้เกิดผลิตภัณฑ์
ี
ี
�
�
ใหม่ ๆ ขึ้นในวงการประกันภัย บางกรมธรรม์ที่เคยถูกมองว่าแปลกก็กลับกลายเป็นเรื่องธรรมดา หรืออาจเป็นเรื่องจ�าเป็นขึ้นมาก็เป็นได้ ขึ้นอยู่
กับว่าเสียงตอบรับและความคิดเห็นของผู้บริโภคเป็นอย่างไร
วารสารประกันภัย เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2559 13