Page 78 - TGIA_AnnualReport2013
P. 78
3. การเป็นศูนย์กลางในการด�าเนินการเรื่อง การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนน�้าท่วมจากบริษัทรับประกันภัยต่อ
�
สมาคมฯ ได้เป็นศูนย์กลางในการดาเนินการเร่อง การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนนาท่วมจากบริษัทรับประกันภัยต่อ
ื
�
้
�
�
โดยการกาหนดแนวทางดาเนินการร่วมกันของบริษัทประกันวินาศภัย จนถึงการเป็นตัวกลางในการเร่งรัดบริษัทรับประกันภัยต่อ
�
ั
ึ
ให้เร่งรัดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนซ่งได้มีการกาหนดแนวทางปฏิบัติร่วมกัน ท้งการดาเนินการระหว่างผู้รับประกันภัยกับผู้เอา
�
ประกันภัย ระหว่างบริษัทประกันภัยกับบริษัทประกันภัย และระหว่างบริษัทประกันภัยกับบริษัทรับประกันภัยต่อ และในส่วน
ิ
ั
ิ
ั
ั
ั
ั
ั
ิ
ของการชดใช้ค่าสนไหมทดแทนระหว่างบรษทประกนภยและบรษทประกนภยต่อ (ในประเทศ) ทางสมาคมฯ ได้ร่างสญญา
ั
ื
การชดใช้ค่าสินไหมทดแทน และร่างสัญญาการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนและชาระค่าสินไหมทดแทนบางส่วน เพ่อให้บริษัท
�
สมาชิกได้เลือกใช้โดยขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของบริษัท เพื่อให้สอดคล้องกับสภาวะและข้อเท็จจริงของบริษัทเอง ส่วนการเรียกร้อง
�
ให้บริษัทรับประกันภัยต่อในต่างประเทศชดใช้ค่าสินไหมทดแทนน้น สมาคมฯ ได้ร่างข้อสัญญาอนุญาโตตุลาการสาหรับ
ั
�
ประกันภัยต่อต่างประเทศแบบ Treaty Reinsurance ข้อสัญญาอนุญาโตตุลาการสาหรับประกันภัยต่อต่างประเทศแบบ
Facultative Reinsurance และสัญญาประกันภัยต่อแบบ Facultative Reinsurance ภายในประเทศ รวมท้งมีหนังสือไปถึง
ั
บริษัทรับประกันภัยต่อเพื่อแจ้งขอให้ช�าระค่าสินไหมทดแทนที่ค้างช�าระให้แก่บริษัทประกันวินาศภัยในประเทศไทย ซึ่งจากการ
�
ื
ี
ดาเนินการดังกล่าวผู้บริหารของบริษัทประกันภัยต่อบางแห่งได้เข้ามาหารือกับผู้แทนสมาคมฯ เพ่อแลกเปล่ยนข้อมูลและ
�
ั
ี
ความคิดเห็นเก่ยวกับการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนกับบริษัทสมาชิก รวมท้งการอานวยความสะดวกให้ผู้ท่เก่ยวข้องใช้ห้องประชุม
ี
ี
เพื่อเจรจาเรื่องการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนดังกล่าว
4. การปฏิบัติตามกฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน และการสนับสนุนทางการเงินแก่ผู้ก่อการร้าย
ด้วยบริษัทประกันวินาศภัยเป็นสถาบันการเงินท่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
ี
และการต่อต้านการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย (ANTI-MONEY LAUNDERING AND COMBATING THE
FINANCING OF TERRORISM: AML/CFT) โดยตั้งแต่วันที่ 21 สิงหาคม 2555 เป็นต้นไป บริษัทประกันวินาศภัยทุกแห่งต้อง
ั
ปฏิบัติตามกฎหมาย (AML/CFT) โดยครบถ้วน มิฉะน้น หากมีการตรวจสอบพบว่าบริษัทใดไม่ปฏิบัติตาม/ปฏิบัติไม่ครบถ้วน
ผู้มีอ�านาจที่เกี่ยวข้องของบริษัทจะต้องรับโทษตามกฎหมายในฐานะผู้กระท�าการแทนบริษัท ซึ่งมีการก�าหนดโทษไว้ทั้งทางแพ่ง
และอาญา ดังนั้น สมาคมฯ ได้แจ้งให้บริษัทประกันวินาศภัยทุกแห่งต้องด�าเนินการ ประกอบด้วย
(1) ประกาศใช้นโยบายด้านการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินและการต่อต้านการสนับสนุนทางการเงินแก่การ
ก่อการร้าย ซึ่งบริษัทจะต้องด�าเนินการให้เสร็จสิ้นก่อนวันที่ 21 สิงหาคม 2555
(2) ประกาศใช้ค่มอแนวปฏบติในการจดให้ลกค้าแสดงตน (KYC) และกระบวนการตรวจสอบเพ่อทราบข้อเท็จจรง ิ
ิ
ั
ื
ื
ั
ู
ู
เกี่ยวกับลูกค้า (CDD)
ื
�
ี
�
สาหรับในปี 2556 สานักงาน ปปง. ได้ออกกฎกระทรวง เร่อง การตรวจสอบเพ่อทราบข้อเท็จจริงเก่ยวกับลูกค้า
ื
�
พ.ศ. 2556 และประกาศสานักนายกรัฐมนตรี เร่อง วิธีการแสดงตนของลูกค้าสถาบันการเงินและผู้ประกอบอาชีพตามมาตรา 16
ื
ลงในราชกิจจานุเบกษาเม่อวันท่ 17 กรกฎาคม 2556 ซ่งมีผลใช้บังคับต้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ั
ึ
ื
ี
ี
�
เป็นต้นไป โดยสมาคมฯ ได้จัดทาข้อมูลเปรียบเทียบการแสดงตนของลูกค้าระหว่างประกาศฉบับวันท่ 8 มิถุนายน 2554 กับ
ประกาศฉบับวันท่ 17 กรกฎาคม 2556 เพ่อเผยแพร่ให้บริษัทสมาชิกรับทราบ ล่าสุดทางสานักงานป้องกันและปราบปราม
ี
�
ื
การฟอกเงิน (ปปง.) ได้ออกประกาศ 9 ฉบับ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2556 มีผลใช้บังคับตั้งแต่
วันถัดจากวันประกาศราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
76 รายงานประจำาปี 2556 | Annual Report 2013