Page 22 - TGIA_AnnualReport2016
P. 22
ร�ยง�นธุรกิจประกันวิน�ศภัย ปี 2559
ี
ึ
ี
ี
เศรษฐกิจไทยในป 2559 มีอัตราการขยายตัวท่ร้อยละ 3.2 ปรับตัวดีข้นจากการขยายตัวร้อยละ 2.9 ในป 2558 โดยการขยายตัวป ี
ึ
ี
ึ
ู
น้มาจาก 1) การบริโภคภาคเอกชนที่ขยายตัวสูงข้นจากรายได้เกษตรกรท่ปรับตัวดีข้นและการใช้มาตรการช่วยเหลือผ้มีรายได้น้อยของ
ี
ภาครัฐ และ 2) การส่งออกสินค้าและบริการที่มีการปรับตัวดีขึ้นจากราคาสินค้าส่งออกที่เพิ่มสูงขึ้นตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก
ื
แนวโน้มเศรษฐกิจไทยป 2560 คาดว่าจะยังปรับตัวดีข้นอย่างต่อเน่อง โดยมีปัจจัยสนับสนุนจาก 1) การขยายตัวของภาคการส่ง
ี
ึ
ื
ิ
ี
ำ
ึ
ออกท่เร่มปรับตัวเป็นบวกหลังจากหดตัวติดลบต่อเน่องมา 3 ป จากการปรับตัวดีข้นของเศรษฐกิจประเทศสาคัญ และการเพ่มข้นของ
ี
ิ
ึ
ำ
ราคาสินค้าสาคัญในตลาดโลก ซ่งจะเป็นปัจจัยสนับสนุนให้การผลิตภาคอุตสาหกรรมและการลงทุนภาคเอกชนขยายตัวตามไปด้วย
ึ
ื
2) การฟ้นตัวและการขยายตัวของการผลิตภาคการเกษตรซ่งจะเป็นปัจจัยสนับสนุนการขยายตัวของการบริโภคภาคครัวเรือน 3) การลงทุน
ึ
ภาครัฐที่ยังอยู่ในเกณฑ์สูงอย่างต่อเนื่อง และ 4) การท่องเที่ยวที่จะกลับมาขยายตัวดีขึ้นหลังจากที่ชะลอตัวลงจากการปราบปรามทัวร์ศูนย์
เหรียญและบรรยากาศการท่องเที่ยวช่วงไว้อาลัย
ำ
ื
้
ึ
ู
เสถียรภาพทางเศรษฐกิจยังมีแนวโน้มอยำในเกณฑ์ด โดยเงินเฟ้อขยายตัวเร่งข้นอย่างช้า ๆ ตามแนวโน้มการฟ้นตัวของราคานามัน
ี
ี
และการฟ้นตัวของอุปสงค์ในประเทศ เงินบาทมีแนวโน้มอ่อนค่าลงอย่างช้า ๆ ในขณะท่การจ้างงานมีแนวโน้มเพ่มข้นตามการฟ้นตัว
ื
ึ
ื
ิ
ี
ของการผลิตภาคเกษตร และดุลบัญชีเดินสะพัดยังคงเกินดุลในเกณฑ์สูง อย่างไรก็ตาม เศรษฐกิจไทยยังมีปัจจัยเส่ยงจากความผันผวน
ั
ี
ของระบบเศรษฐกิจโลกและการเงินโลกจาก 1) ทิศทางและแนวนโยบายของสหรัฐอเมริกาหลังการเลือกต้งประธานาธิบดีท่ยังไม่ม ี
ำ
้
ี
ึ
ื
ความชัดเจน 2) ปัญหาเร่องการเมืองและความอ่อนแอของสถาบันการเงินในยุโรป 3) แนวโน้มราคานามันโลกท่ปรับตัวสูงข้น และ 4) ปัญหา
ในภาคการเงินและภาคอสังหาริมทรัพย์ของจีน
ตารางที่ 1: อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจไทย
ร้อยละต่อปี 2558 2559 2560f
(Percent per year) (2015) (2016) (2017f)
อัตร�ก�รขย�ยตัวท�งเศรษฐกิจ (Economic Growth Rate) 2.9 3.2 3.0-4.0
การบริโภคภาคเอกชน (Private Consumption) 2.2 3.1 2.8
การลงทุนภาคเอกชน (Private Investment) -2.2 0.4 2.5
การอุปโภคภาครัฐ (Public Consumption) 3.0 1.6 2.6
การลงทุนภาครัฐ (Public Investment) 29.3 9.9 14.4
การส่งออกสินค้าและบริการ (Export of goods & services) 0.7 2.1 2.6
การนำาเข้าสินค้าและบริการ (Import of goods & services) 0.0 -1.4 3.7
มูลค่�ก�รส่งออกสินค้� (Export volume of goods & services) -5.6 0.0 2.9
มูลค่�ก�รนำ�เข้�สินค้� (Import volume of goods & services) -10.6 -4.7 5.5
อัตร�เงินเฟ้อ (Inflation) -0.9 0.2 1.2-2.2
ที่มา: รายงานนโยบายการเงิน ธันวาคม 2559, ธนาคารแห่งประเทศไทย
20 | ANNUAL REPORT 2016