Page 4 - TGIA_AnnualReport2023
P. 4
สมาคมประกันวินาศภัยไทย
4 รายงานประจำาป 2566
สารจาก
นายกสมาคมประกันวิินาศภััยไทย
ในปี 2566 ที่ผ่านมา สำานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
ห
่งชา
่งชา
ห
แห่งชาติ ได้รายงานสภาวะเศรษฐกิจของไทยมอัตราการขยายตัวที่ร้อยละ
แ
ี
ห
1.9 ชะลอตัวลงจากการขยายตัวร้อยละ 2.5 ในปี 2565 อัตราเงินเฟ้้อ อยู่
1.9 ชะลอ
้อยละ
ที่ ที่ ที่ ร ร ร ้อยละ 1.2 มาจาก
ที่ร้อยละ 1.2 มาจากปัจจัยสนับสนุนในด้านของการขยายตัวของการบริโภค
1.2
มาจาก
และการลง
และการลงทุนของภาคเอกชน ตลอดจนการฟ้้�นตัวอย่างต่อเนื่องของภาค
การท่องเที่ยว ซึ่ึ่งเป็นปัจจัยช่วยให้เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้ม ฟ้้�นตัวอย่างต่อ
การ
เ เนื่อง
อง
นื่
สำาหรับภาพรวมของธุรกิจประกันวินาศภัยไทยในปี 2566 นั้น มีเบี้ยประกันภัยรับโดยตรงอยู่ที่ 284,866 ล้านบาท เติบโตร้อยละ 3.9 ในขณะที่
สัดส่วนเบี้ยประกันภัยต่อผลิตภัณฑ์์มวลรวมภายในประเทศ (Insurance Penetration) อยู่ที่ร้อยละ 1.59 และเบี้ยประกันภัยรับโดยตรงต่อประชากร
(Insurance Density) อยู่ที่ 4,057 บาท เพ่�มข้้นเล็กน้อยจากปี 2565 ด้วยปัจจัยสนับสนุนหลักจากการฟ้้�นตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ การลงทุน
้
้
้�
่
ั
่
่
ั
ู
้
้
ู
ของภาคเอกชนที่เพมสงขนตามดชนความเชื่อมั่นทางธรกจที่ปรบสงขน การฟ้นตวของภาคการทองเที่ยวทั้งจากการทองเที่ยวภายในประเทศและนกทองเที่ยว
่�
ิ
ั
ุ
ั
ี
ต่างชาติซึ่ึ่งทำาให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจกลับมาฟ้้�นตัวอีกครั้ง รวมถึงผู้บริโภคมีการตระหนักถึงการทำาประกันภัยและการเข้าถึงการประกันภัยมีความ
สะดวกมากข้้น
สมาคมประกันวินาศภัยไทยคาดการณ์ว่า แนวโน้มธุรกิจประกันวินาศภัย ปี 2567 มีการเติบโตร้อยละ 5.0-6.0 เบี้ยประกันภัยรับโดยตรง 299,050-
301,890 ล้านบาท อันเป็นผลมาจากการฟ้้�นตัวทางเศรษฐกิจ ซึ่ึ่งมีปัจจัยสนับสนุนสำาคัญจากการฟ้้�นตัวของภาคการท่องเที่ยว การขยายตัวของการ
ลงทุนทั้งภาครัฐและเอกชน การขยายตัวอย่างต่อเนื่องของการบริโภคภาคเอกชน และการขยายตัวของภาคเกษตร อย่างไรก็ตาม เศรษฐกิจไทย ยังต้อง
เผชิญกับความเสี่ยงรอบด้าน ทั้งความผันผวนในตลาดการเงินโลก ความผันผวนในทิศทางการปรับอัตราดอกเบี้ยนโยบายแต่ละประเทศ ปัญหา
ภูมิรัฐศาสตร์และความขัดแย้งทางเศรษฐกิจ ที่จะส่งผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทศ รวมถึงความไม่แน่นอนของสถานการณ์การเมืองภายในประเทศ
ซึ่ึ่งล้วนแต่เป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิดความท้าทายต่อการประกอบธุรกิจประกันวินาศภัยไทยแทบทั้งสิ�น
ในส่วนของการดำาเนินงานของสมาคมฯ ในปี 2566 ที่ผ่านมา สมาคมฯ ยังคงมีบทบาทสำาคัญในการผลักดันให้การประกันภัยเป็นเคร่่องมือ ในการ
บริหารความเสี่ยง สร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจให้สามารถเติบโตได้อย่างยั่งยืน และสร้างความเชื่อมั่นต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วน ผ่านพันธกิจทั้ง
4 ด้าน ซึ่ึ่งในปีที่ผ่านมามีความสำาเร็จที่เป็นรูปธรรม ดังนี้
พัันธุกิจท่� 1ส่งเสริมให้ธุรกิจประกันภัยมีภาพลักษณ์ที่ดีเป็นที่ยอมรับในระดับสากล มีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ�งแวดล้อมโดยได้ดำาเนินการ
เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูล เพื่อสร้างความเข้าใจด้านการประกันวินาศภัยและสร้างภาพลักษณ์ที่ดีเป็นที่ยอมรับให้ประชาชนทั่วไปและผู้เกี่ยวข้อง มาก
ข้้น ตลอดจนขับเคลื่อน ESG (Environment, Social and Governance) ในธุรกิจประกันวินาศภัย
พัันธุกิจท่� 2 ยกระดับความเชื่อมั่นและความไว้วางใจในการทำาหน้าที่เป็นผู้บริหารความเสี่ยงมืออาชีพให้กับภาครัฐ และเอกชน ด้วยการสนับสนุน
ให้เกิดศูนย์กลางข้อมูลและการใช้ข้อมูลด้านการประกันวินาศภัยให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อสังคมและประชาชน สนับสนุนแนวคิดและผลักดันให้เกิดการ
กำากับดูแลกันเองของภาคธุรกิจประกันภัยและการมุ่งสู่การเปิดเสรีในบางมิติ ตลอดจนการผลักดันให้ภาครัฐมีมาตรการต่าง ๆ ในการส่งเสริมและสนับสนุน
ให้มีการทำาประกันวินาศภัยเพื่อช่วยในการบริหารความเสี่ยงและแบ่งเบาภาระของรัฐบาล ทั้งโครงการประกันภัยพืชผล ปีการผลิต 2567/68 โครงการ
ประกันภัยให้กับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติในระหว่างเดินทางท่องเที่ยวในประเทศไทย จากนโยบายการจัดเก็บค่าธรรมเนียมการท่องเที่ยวภายในประเทศ
ของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ Thailand Traveller Fee (TTF) หร่อค่าเหยียบแผ่นดิน โครงการพัฒนาระบบการเชื่อมโยงข้อมูลตรวจสอบการจัดทำา
ประกันภัยรถภาคบังคับ ร่วมกับกรมการขนส่งทางบก การช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยด้วยการใช้ระบบวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในระบบประกันภัย พืช
ผล ระหว่าง กรมส่งเสริมการเกษตร สมาคมประกันวินาศภัยไทย และบริษัท ไทยคม จำากัด (มหาชน) และ โครงการ Utilization of Insurance Bureau
System Data เพื่อเพ่�มประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลกลางประกันภัย (Insurance Bureau System: IBS)