Page 42 - TGIA_AnnualReport2023
P. 42
สมาคมประกันวินาศภัยไทย
42 รายงานประจำาป 2566
13. โครงการพััฒนาแนวิทางการนำาระบุบุวิิทยาศาสติร์และเทคโนโลย่มาใช้ในการประกันภััยพัืชผู้ล
สมาคมประกันวินาศภัยไทย ได้มีการพัฒนาโครงการประกันภัยพืชผล โดยนาเทคโนโลยีมาใช้ในการขับเคลื่อนโครงการประกันภัยพืชผลอย่าง ต่อ
ำ
ำ
เนื่อง เพื่อตอบโจทย์การดาเนินงานให้กับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง รวมถึงเกษตรกรผู้เอาประกันภัยให้ได้รับการดูแลอย่างถูกต้องและรวดเร็ว เพื่อให้การ
ประกันภัยพืชผลของไทยเกิดความยั่งยืน โดยการนาเทคโนโลยีดาวเทียม ระบบการวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analytics) และระบบ AI & Machine
ำ
ำ
Learning มาใช้ในการประกันภัยพืชผล โดยร่วมกับบริษัท ไทยคม จากัด (มหาชน) ในการวิเคราะห์ข้อมูลและตรวจสอบความเสียหายเพื่อดาเนินการ
ำ
จ่ายค่าสินไหมทดแทนในโครงการประกันภัยพืชผลต่อไป
ั
ั
ั
ระยะแรก สมาคมประกนวินาศภยไทย ได้ลงนามในบนทึกข้อตกลงความร่วมมอกบ บริษท ไทยคม จากัด (มหาชน) ในโครงการพฒนาแนวทาง
ำ
ื
ั
ั
ั
การนาระบบวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้ในการประกันภัยพืชผล (Scientific and Technology Solution for Agricultural Insurance) ใน การ
ำ
ำ
ดาเนินการทดสอบการตรวจสอบความเสียหายในพื้นที่เพาะปลูกที่กาหนดให้พื้นที่นวัตกรรมและข้อมูล (Sandbox Areas) ตามข้อมูลที่ได้รับจากกรม
ำ
ำ
์
ส่งเสริมการเกษตร จานวน 6 จังหวัด โดยมพื้นที่ปลูกข้าวนาปที่มีขอบเขตการเพาะปลูกในรูปแบบอิเล็กทรอนิกสที่สามารถดาเนินการได้รวม 3 ล้านไร โดย
ี
่
ี
ำ
ิ
ำ
ำ
้
�
ำ
บรษัท ไทยคม จากัด (มหาชน) และสมาคมฯ ร่วมกันออกค่าใชจ่าย โดยประเมินผลสัมฤทธิที่ให้บรษัท ไทยคม จากัด (มหาชน) จัดทามามี 3 ส่วน ประกอบด้วย
ิ
1. ตรวจสอบว่าพื้นที่นั้นปลูกข้าวหร่อไม่ ผลการทดสอบ มีความถูกต้อง 87%
2. เกิดภัยแล้ง-ภัยฝนทิ�งช่วงหร่อไม่ ผลการทดสอบ มีความถูกต้อง 81%
3. เกิดภัยน้าท่วมหร่อไม่ ผลการทดสอบ มีความถูกต้อง 78%
ำ
ำ
โดยผลการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าวนั้น สามารถนาไปใช้เป็นแนวทางที่ใช้ในการพัฒนา ต่อยอด และขยายผลในระยะที่ 2 ต่อไป
ระยะท่� 2 สมาคมประกันวินาศภัยไทย พัฒนารูปแบบการประเมินผลความเสียหายให้มีประสิทธิภาพและครอบคลุมทั่วประเทศ จ้งได้เชิญชวนกรม
ำ
ี
ำ
ส่งเสริมการเกษตร หน่วยงานภาครัฐผู้ท่ทำาหน้าที่ข้นทะเบียนเกษตรกรทั่วประเทศ และทาหน้าที่สารวจความเสียหายของพืชร่วมกันพัฒนา Model ให้
้
้
ำ
มีความถูกต้องแม่นยา และสามารถนาไปใช้งานจริงได้ ซึ่ึ่งกรมส่งเสริมการเกษตร ได้ตอบรับการเข้าร่วมศึกษาในครั้งนี้ด้วย จึงไดจัดทาบุันทึกควิามเข้าใจ
ำ
ำ
้
่
์
่
้
ิ
วิ่าดวิยการชวิยเห์ลือเกษติรกรผูู้้ประสบุภััยดวิยการใช้ระบุบุวิทยาศาสติรและเทคโนโลย่ในระบุบุประกันภััยพัืชผู้ล รวิมกบุกรมสงเสรมการเกษติร และบุรษัท
ิ
ิ
ั
่
ไทยคม จำากัด (มห์าชน) โดยโครงการดังกล่าวเป็นการนาระบบวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้ในการประกันภัยพืชผล (Scientific and technology
ำ
ำ
solution for Agricultural insurance) ประกอบด้วย เทคโนโลยีดาวเทียมสารวจทรัพยากรโลก (Earth Observation Satellite) ข้อมูลขนาดใหญ่
ั
เช่น ข้อมูลแปลงเกษตรกร พันธุ์ข้าว พื้นที่ประสบภัยพ่บติและอื่น ๆ ระบบวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analytics System) และปัญญาประดิษฐ์ (Artificial
Intelligence/Machine Learning) เป็นต้น และได้จัดพ่ธีลงนามบันทึกความเข้าใจว่าด้วยการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยด้วยการใช้ข้อมูลดาวเทียม
ั
ี
ั
ั
ในระบบประกนภยพืชผล เมื่อวนที่ 31 มกราคม 2567 ณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยมร้อยเอก ธรรมนส พรหมเผ่า รฐมนตรีว่าการกระทรวง
ั
ั
ำ
ี
เกษตรและสหกรณ์ เป็นประธานในพ่ธดังกล่าว ในส่วนของการดาเนินการในระยะที่ 2 จะขยายพื้นที่เพ่�มเติมอีก 10 จังหวัด จากเดิม 6 จังหวัด พื้นที่ 3
ำ
้
ล้านไร่ เป็น 16 จังหวัด 13 ล้านไร่ และมีการปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบให้มีความถูกต้องยิ�งข้น โดยทาการศึกษาและปรับปรุงผลการทดสอบ 2
้
ำ
ำ
ส่วน ประกอบด้วย การเกิดภยแล้ง-ภัยฝนทิ�งช่วง และการเกิดภัยนาท่วม รวมทั้งดาเนินการเพื่อเชื่อมโยงข้อมูลให้สอดคล้องกับวิธีการช่วยเหลือเกษตรกร
ั
ำ
ในกรณีเกิดความเสียหายตามแบบ กษ.02 ของกรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อให้กรมส่งเสริมการเกษตรสามารถนาเทคโนโลย ี
ิ
ั
ิ
ดงกล่าวไปบริหารจดการการสารวจความเสยหายของพืชในระดบประเทศได้อย่างมประสทธภาพ ซึ่ึ่งนบเป็นการพฒนาเทคโนโลยที่จะตอบโจทย์
ี
ั
ั
ี
ั
ั
ำ
ี
เกษตรกรรมยุคใหม่ ช่วยส่งเสริมศักยภาพและขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศไทยอย่างยั่งยืนด้วยนวัตกรรม
14. การประชุมเพัื�อแบุ่งปันวิิธุ่การดำาเนินโครงการประกันภััยพัืชผู้ลของประเทศไทย ให์้กับุคณะผูู้้แทนจากประเทศกัมพัูชา
ำ
สมาคมประกันวินาศภัยไทย จัดประชุมเพื่อแบ่งปันวิธีการดาเนินโครงการประกันภัยพืชผลของประเทศไทย (Crop Insurance Implementation
ำ
Sharing Conference) ให้กับคณะผู้แทนจากประเทศกัมพูชา เนื่องด้วยประเทศกัมพูชากาลังดาเนินการศึกษาและพัฒนาเพื่อยกระดับโครงการประกัน
ำ
ภัยพืชผลและได้เล็งเห็นถึงความสาเร็จของโครงการพืชผลในประเทศไทย จ้งมีความสนใจที่จะศึกษาการดาเนินโครงการประกันภัยพืชผลในประเทศไทย
ำ
ำ
้
ำ
ซึ่งจัดประชุมขนเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2566 ณ สมาคมประกันวินาศภัยไทย โดยผู้เข้าร่วมประชุมจากประเทศกัมพูชา นาโดย Dr. Yang Saing Koma,
ึ่
้
Secretary of State of the Ministry of Agriculture, Forestry and Fisheries, Cambodia (MAFF) พร้อมด้วยผู้แทนจากกระทรวงเกษตร ป่าไม และ
้
ประมง กระทรวงเศรษฐกิจและการเงิน บริษัทประกันภัย (Forte) และผู้แทนจากบริษัทประกันภัยต่อแห่งชาติ ประเทศกัมพูชา (Cambodia Re) รวม
ำ
ิ
ำ
จานวน 13 ท่าน พร้อมนี้ได้เชิญผู้แทนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดาเนนโครงการประกันภัยพืชผลของประเทศไทยเข้าร่วมในการพบปะและแลก
ำ
ำ
เปลี่ยนข้อมูล ประกอบด้วย สานักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กรมส่งเสริมการเกษตร (กสก.) ธนาคารเพื่อ
ำ
ำ
การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) และสานักงานคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) ร่วมนาเสนอรูปแบบ
ำ
ำ
และความร่วมมือในการดาเนินโครงการประกันภัยพืชผล