Page 67 - TGIA_AnnualReport2023
P. 67
Annual Report 202367
66 สมาคมประกันวินาศภัยไทย Thai General Insurance Association
สมาคมประกันวินาศภัยไทย
66 รายงานประจำาป 2566รายงานประจำาป 2566
39. งาน ส ัมมนา ว ิชาก าร ด ้านการประ ก ัน ภ ัย ห ัว ข ้อ “Societal that Impact the Insurance Landscape” จ ัดโดย สมาคมนายห น ้าประ ก ัน ภ ัยไทย ร ่วม ก ับ โครงการชิ่วิยเหลือสังคมและกิจกรรมเพั่�อสาธารณประโยชิน์
39. งานสัมมนาวิชาการด้านการประกันภัยหัวข้อ “Societal that Impact the Insurance Landscape” จัดโดย สมาคมนายหน้าประกันภัยไทย ร่วมกับ
ร
ส
ัน
ัว
ิน
อ
ด
ช
์ เ
27
ที่
ม
ีนาคม 2567 ณ โรงแรม แกรน
อ
มื่
ัน
ว
์
น
ร
จ
อ
ิตยสารไทยแลน
์
์
นิตยสารไทยแลนด์ อินชัวรันส์ เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2567 ณ โรงแรม แกรนด์ ฟ้อรจูน พระราม 9 ประจำาปี 2566
ฟ้
์
ูน พระราม 9
ด
ำ
สมาคมประกันวินาศภัยไทย ในฐานะองค์กรกลางภาคธุรกิจประกันวินาศภัย ได้ดาเนินนโยบายที่สาคัญในการพัฒนาและส่งเสริมสนับสนุนให้ธุรกิจ
ำ
ประกันวินาศภัยเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และมีบทบาทในการช่วยเหลือสังคมและจัดกิจกรรมเพื่อสาธารณประโยชน์ต่าง ๆ ภายใต้
ึ่
ั
ื
ิ
ั
ุ
ั
ิ
ั
นโยบายที่สอดคล้องกบพนธกจของสมาคมประกนวินาศภยไทย ในการสนบสนนกจกรรมความรบผิดชอบต่อสงคม (CSR) สร้างความยั่งยนด้านสิ�ง
ั
ั
ั
แวดล้อม สังคมและธรรมาภิบาล (ESG) เพื่อเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับธุรกิจประกันวินาศภัยไทย และเพื่อพัฒนาธุรกิจประกันวินาศภัยให้เติบโต
ี
ำ
ควบคู่ไปกับการพัฒนาสังคมและยกระดับคุณภาพชวิตของคนไทยไปพร้อมกัน โดยในปี 2566 สมาคมประกันวินาศภัยไทย ได้ดาเนินโครงการและกิจกรรม
เพื่อสังคมที่สาคัญ ได้แก่ โครงการสร้างต้นแบบและศูนย์เรียนรู้ข้อมูล เทคโนโลยี และนวัตกรรมในการบริหารจัดการน้าใต้ดินเพื่อการเกษตรที่ครบวงจร
ำ
ำ
ี
้
ี
ี
ั
ี
ำ
แก้ปัญหาการขาดแคลนน้าในพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ ยกระดับคุณภาพชวิตให้กับเกษตรกรมีอาชีพ มีรายได้ และมคุณภาพชวิตที่ดข้นอย่างยั่งยืน ร่วมกบ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน (มทร.อีสาน) ดังนี้
1. พัฒนาแหล่งนำาเพื่อการเกษตรโดยการขดบ่อธนาคารนำาใต้ดิน จำานวน 13 บ่อ ให้กับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขต
้
้
ุ
ำ
ู
็
ึ่
ี
ณ
2567
ม
หา
ว
ม
22
ม
น
ที่
า
ค
น
ี
ี
า
ย
ั
ั
โ
ล
โ
น
ค
เ
ท
ิ
ิ
ร
ี
ท
ล
า
ย
ี
ย
ั
ยี่
40.
เ
น
ที่
ช
ม
ม
ย
น
ำ
ำ
ใ
ด
ต
ง
พื้
40. ลงพื้นที่เยี่ยมชมตนแบบการบรหารจดการน้าใตดนเพื่อการเกษตร ในพื้นที่ทุ่งกลารองไห เมื่อวนที่ 22 มนาคม 2567 ณ มหาวทยาลยเทคโนโลยราช ช ร้อยเอ็ด ณ ทุ่งกุลาร้องไห้ ซึ่งมพื้นที่ประมาณ 1,700 ไร่ ตั้งอยู่ที่อาเภอสุวรรณภมิ จังหวัดร้อยเอด
้า
ล
หา
ิ
า
ร
ิ
ั
ั
ดก
ร
จ
ร
้
น
ต
้
ร
บ
กา
แ
บบ
า
ุ
ร
อง
้
ง
ทุ่
ก
ล
ุ
้
มื่
เ
อ
ั
ว
ห
ไ
้
้
ที่
พื่
เ
อกา
เ
ร
้
้
น
ิ
ิ
กษ
น
พื้
ใ
ต
ร
น
่
้
้
้
ี
ี
้
ั
มงคล อ ีสาน (มทร. อ ีสาน) ว ิทยาเขต ร ้อยเ อ ็ด ณ ทุ่ ง ก ุลา ร ้องไ ห ้ ้ 2. ต้งศูนย์การเรียนรู้การจัดการนำาครบวงจรด้วยระบบธนาคารนำาใต้ดิน เพือเป็นต้นแบบการจัดการนำาใต้ดินในพืนท่แห้งแล้งท่อยู่นอกเขต
มงคลอีสาน (มทร.อีสาน) วิทยาเขตร้อยเอ็ด ณ ทุ่งกุลาร้องไห
ชลประทานและเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ด้านการเพาะปลูกข้าวหอมมะลคุณภาพสูงและพืชผลนอกฤดูกาลในภาคอีสาน เพื่อให้เกษตรกรได้
ิ
ำ
ี
เข้ามาศึกษาและขยายผลวิธีการทาเกษตรกรรมสมัยใหม่ให้เกิดการพัฒนาและสร้างความยั่งยืนในการประกอบอาชพ
่
้
้
่
3. จัดทำาชลประทานระบบท่อซึ่ึงเป็นระบบการให้นำาทางการเกษตรทีมีประสทธิภาพ เหมาะกับพืนทีทุ่งกุลาร้องไห้ทีมีแหล่งนำาจำากด โดยให้
่
ั
่
ิ
้
เกษตรกรเข้ามาเรียนรู้การวางระบบด้วย
4. โครงการศูนย์การเรียนรู้ผสมผสานพืชอาหารและการเล้ยงสัตว์ด้วยระบบพลังงานทดแทน ภายใต้ BCG model สร้างโรงเร่อนเลี้ยงสัตว์
ี
เช่น ไก่ไข่ แพะ บนนาข้าวมีแปลงหญ้าอาหารสัตว์ ระบบหมักอาหารสัตว์ ระบบควบคุมฟ้าร์มอัตโนมติ ระบบปรับสภาพน้าด้วยชีวภาพ โดย
ั
ำ
การนาพลังงานทดแทนเป็นแหล่งพลังงานในการใช้ในระบบฟ้าร์ม เพื่อให้เกษตรกรเข้ามาเรียนรู้และเป็นแปลงสาธิตแก่เกษตรกรตามหลัก
ำ
วิชาการ
จากการดาเนินโครงการต่าง ๆ ทั้งหมด มทร.อีสาน วิทยาเขตร้อยเอ็ด ณ ทุ่งกุลาร้องไห้ ได้เริ�มเปิดให้เกษตรกรและหน่วยงานต่าง ๆ เข้ามาเยี่ยม
ำ
ชมและศึกษาดูงาน พร้อมทั้งได้จัดสรรพื้นที่ให้เกษตรกรเข้ามาประกอบอาชีพเสริมตามหลักวิชาการ ช่วยเหลือด้านการตลาด จนกระทั่งเกิดความชำานาญ
และประสบการณ์ก่อให้เกิดอาชีพเสริมและรายได้เพ่�มข้น มีการวางแผนการเพาะปลูกพืชชนิดต่าง ๆ โดยการใช้ระบบน้าในการปลูกพืชภายใต้โครงการ
ำ
้
พัฒนาแหล่งน้าเพื่อการเกษตรที่ได้รับการสนับสนุนจากสมาคมประกันวินาศภัยไทย (เริ�มปลูกตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2566) ซึ่ึ่งสามารถทาให้เกิดการ
ำ
ำ
จ้างงานและเกิดรายได้กับเกษตรกรในพื้นที่โดยสรุป ดังนี้
1. พืนท่เพาะปลูกจำานวน 149 ไร่ ท่ได้รับประโยชน์จากธนาคารนาใต้ดินและการทำาระบบท่อส่งนำา ้
้
ี
ำ
้
ี
้
่
ี
ิ
2. พืชผักผลไม้ที่ทำาการเพาะปลูกในโครงการรวม 8 ชนิด ได้แก่ 1. มะเขอเทศ 2. แตงกวา 3. พรก 4. มะเขอเปราะ 5. แตงโม 6. มะระขนก 7.
่
ถั่วฝักยาว 8. ข้าวโพดเมล็ดพันธุ์
3. เกิดการจ้างงานแรงงานในพื้นท่ 4 อำาเภอ ได้แก่ 1. สุวรรณภูมิ 2. เกษตรวสัย 3. ปทุมรัตต์ 4. โพนทราย จำานวน 130 ครัวเรอน
่
ี
ิ
ี
4. มีการจ้างงานเกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการ คือ ค่าแรงวันละ 300 บาททุกวัน เกิดรายได้หมุนเวยนจ้างแรงงานจำานวน 800,000 บาท
ำ
ั
ำ
ำ
ำ
จากการดาเนินโครงการศูนย์เรียนรู้ในข้างต้น มทร.อีสาน ตั้งเป้าหมายจานวนผู้เข้ามาศึกษาเรียนรู้ และนาความรู้ไปต่อยอดปฏิิบติจริงจานวน
ำ
1,000 คน ซึ่ึ่งจากข้อมูลตั้งแต่เดือนเมษายน-ธันวาคม 2566 มีหน่วยงานต่าง ๆ นาเกษตรกรเข้ามารับการอบรมความรู้ เยี่ยมชมและศึกษาดูงานที่ศูนย์
เรียนรู้ภายใน มทร.อีสาน วิทยาเขตร้อยเอ็ด ณ ทุ่งกุลาร้องไห้ มจานวนสะสมแล้วกว่า 690 คน ได้แก่ ผู้ใหญ่บ้าน กานัน องค์การบริหารส่วนตาบลเกษตร
ำ
ำ
ำ
ี
ู
ำ
ำ
ำ
อาเภอ เป็นต้น โดยในจานวนนี้มีเกษตรกรจานวน 50 คน ที่นาความรู้ที่ไดรับไปปฏิิบติจริงในแปลงตัวอย่างในพื้นที่ของ อบต. ห้วยหินลาด อาเภอสุวรรณภม ิ
ำ
ำ
ั
้
แล้ว
มทร.อีสาน ถือว่าเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ใกลชิดกับชุมชนมากที่สุด รวมถึงเป็นแหล่งสร้างนวัตกรรมที่มีการผสมผสานทั้งเทคโนโลยีและปราชญ์ชาวบ้าน ได้
้
อย่างกลมกลืน ในขณะที่สมาคมฯ เป็นหน่วยงานภาคเอกชนที่เข้าไปช่วยส่งเสริมให้เกิดการบริหารความเสี่ยงในการทาการเกษตรเพื่อยกระดับคุณภาพ
ำ
้
ี
ชวิตของเกษตรกร การร่วมมือและสนับสนุนให้มหาวิทยาลัยพัฒนาองค์ความรู้เพื่อให้เกษตรกรสามารถปลูกพืชผักผลไมที่เหมาะสมกับฤดูกาล สภาพพื้นที่
และความต้องการของตลาดได้ ถือเป็นการสร้างเกษตรกรมืออาชีพ (Smart Farmer) ที่จะสามารถประกอบอาชีพเกษตรกรรมได้อย่างยั่งยืน