Page 246 - InsuranceHandbook
P. 246
บทที่ 18 ประเภทของการประกันวินาศภัย 227
การเกิดเหตุไฟไหม้ หรือเกิดระเบิดขึ้นในปั๊มน้ำมัน คลังเก็บน้ำมันเชื้อเพลิง เป็นเหตุการณ์ที่ส่งผลให้เกิด 2) ผู้เสียหายหรือผู้มีสิทธิฟ้องคดีแทน เพียงแต่พิสูจน์ว่าผู้เสียหายได้รับความเสียหายจากสินค้าของ
ความเสียหายรุนแรงมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อบุคคลภายนอก ดังนั้นเพื่อเป็นการบรรเทาความรุนแรงนี้ จึงม ี ผู้ประกอบการ และการใช้หรือการเก็บรักษาสินค้านั้นเป็นไปตามปกติธรรมดาเท่านั้น เพื่อให้ผู้ประกอบการต้อง
้
ิ
ี
์
้
ิ
กรมธรรมประกันภัยมาตรฐานสำหรับธุรกิจสถานบรการนำมันเชื้อเพลง หรือคลังเก็บน้ำมันเชื้อเพลิงซึ่งเป็น พ.ร.บ. รับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย โดยไม่ตองพิสูจน์ว่าความเสียหายเกิดจากการกระทำของ
บังคับสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงจะต้องมีกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดต่อบุคคลภายนอก โดยคุ้มครองความ ผู้ประกอบการแต่อย่างใด
เสียหายจากอัคคีภัย หรือการระเบิดอันเกิดจากการประกอบกิจการน้ำมันเชื้อเพลิง หรือการจัดเก็บน้ำมันเชื้อเพลง ิ 3) กำหนดอายุความในการใช้สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายอันเกิดจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัยไว้แตกต่าง
์
ในสถานที่ประกอบการ และทำให้เกิดความสูญเสียหรือความเสียหาย ดังนี้ จากประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย โดยให้ใช้สิทธิภายในสามปีนับแต่วันที่ผู้เสียหายรู้ถึงความเสียหาย และ
1) การเสียชีวิต หรือความบาดเจ็บต่อร่างกาย หรือทุพพลภาพถาวรสิ้นเชิง หรือความเจ็บป่วยของ ผู้ประกอบการที่ต้องรับผิดชอบ หรือภายในสิบปีนับแต่วันที่ขายสินค้านั้น
บุคคลภายนอก 4) การฟ้องคดีให้ได้รับการยกเว้นค่าฤชาธรรมเนียมทั้งปวง และเปิดโอกาสให้คณะกรรมการ
2) ความเสียหายต่อทรัพย์สินของบุคคลภายนอก คุ้มครองผู้บริโภคและสมาคมที่คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภครับรองตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้บริโภคเป็น
ผู้ฟ้องคดีแทน
การประกันภัยนเหมาะสำหรับผู้ประกอบกิจการที่เกี่ยวข้องกับน้ำมันเชื้อเพลิง ผู้ประกอบธุรกิจสถาน ี 5). ไม่ตัดสิทธิผู้เสียหายที่จะเรียกค่าเสียหายโดยอาศัยสิทธิตามกฎหมายอื่น
ี
้
่
่
่
้
บริการน้ำมันเชื้อเพลิง “สินค้าที่ไมปลอดภัย” หมายความว่า สินค้าที่กอหรืออาจกอให้เกิดความเสียหายขึ้นได ไม่ว่าจะเป็น
้
เพราะเหตุจากความบกพร่องในการผลิตหรือการออกแบบ หรือไม่ไดกำหนดวิธีใช้ วิธีเก็บรักษา คำเตือน หรือข้อมูล
้
ั
่
4.3.7 การประกันภัยผู้ตรวจสอบอาคาร (Building Inspector Insurance) เกี่ยวกับสินค้า หรือกำหนดไว้แต่ไม่ถูกต้องหรือไมชัดเจนตามสมควร ทั้งนี้โดยคำนึงถึงสภาพของสินค้า รวมทง
ชื่อเต็มคือ การประกันภัยความรับผิดตามกฎหมายที่เกิดจากความบกพร่องในการปฏิบัติงานไม่เป็นไป ลักษณะการใช้งานและการเก็บรักษาตามปกติธรรมดาของสินค้าอันพึงคาดหมายได้
้
ตามเกณฑ์มาตรฐานการตรวจสอบตามกฎหมายในฐานะผู้ตรวจสอบอาคาร การประกันภัยความรับผิดตามกฎหมายอันเกิดจากสินค้าไม่ปลอดภัย ใหความคุ้มครองความรับผิดตาม
ี่
ุ้
เป็นการประกันภัยที่ให้ความคมครองความรับผิดตามกฎหมายของผู้ตรวจสอบอาคารในเรื่องของความ กฎหมายของผู้เอาประกันภัยต่อผู้เสียหาย อันสืบเนื่องหรือเป็นผลมาจากผลิตภัณฑ์ทเอาประกันภัยซึ่งเป็นสินค้าที่ไม่
ุ
สูญเสีย หรือเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สินของบุคคลภายนอกขณะออกตรวจสอบอาคารเนื่องจากอบัติเหตุ ปลอดภัย และเกิดเหตุการณ์ความเสียหายขึ้นภายในอาณาเขตความคุ้มครองที่เกิดขึ้นตั้งแต่วันที่มีผลคุ้มครอง
หรือความบกพร่องในการปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบอาคาร โดยบริษัทจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนในนาม ย้อนหลัง (Retroactive Date) ตามที่ระบุในตารางกรมธรรม์ประกันภัย และผู้เอาประกันภัยได้เรียกร้องค่าสินไหม
ผู้เอาประกันภัยสำหรับความรับผิดตามกฎหมายในฐานะผู้ตรวจสอบอาคาร อันเป็นผลมาจากความสูญเสียหรอ ทดแทนต่อบริษัทภายในระยะเวลาเอาประกันภัยตามเกณฑ์วันเรียกร้อง (Claim Made Basis) สำหรับ
ื
ิ
ความเสียหายที่เกิดขึ้นในระหว่างระยะเวลาเอาประกันภัย ณ อาณาเขตประเทศไทย และเป็นผลทำให้เกด 1) ความสูญเสียต่อชีวิต ร่างกาย การบาดเจ็บ เจ็บป่วย หรืออนามัยของบุคคลภายนอก
ความสูญเสีย ดังนี้ 2) ความสูญเสียหรือความเสียหายต่อทรัพย์สินของบุคคลภายนอก
่
1) ความสูญเสียตอร่างกาย และ/หรือ ความเสียหายตอทรัพย์สินของบุคคลภายนอกโดยอุบัติเหตุ 3) ค่าใช้จ่ายในการต่อสู้คดี
่
ขณะที่ผู้เอาประกันภัยทำการตรวจสอบอาคาร และรวมถึงการล้มละลายหรือการมีหนี้สินล้นพ้นตัวของผู้เอาประกันภัย หรือของกองมรดกของ
ี
่
่
2) ความสูญเสยตอรางกาย และ/หรือ ความเสียหายต่อทรัพย์สินของบุคคลภายนอกที่เกิดขึ้นจาก ผู้เอาประกันภัย ซึ่งจะไม่เป็นการปลดเปลื้องบริษัทจากภาระผูกพันภายใต้กรมธรรม์ประกันภัยฉบับนี้
ความบกพร่องของผู้เอาประกันภัยในการปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานการตรวจสอบตามกฎหมายใน
ฐานะผู้ตรวจสอบอาคาร การประกันภัยนี้เหมาะสำหรับ
1) ผู้ผลิตหรือผู้ว่าจ้างให้ผลิต หรือผู้นำเข้า
การประกันภัยนี้เหมาะสำหรับวิศวกรผู้ตรวจสอบอาคาร 2) ผู้ขายสินค้าที่ไม่สามารถระบุตัวผู้ผลิต ผู้ว่าจ้างให้ผลิต หรือผู้นำเข้าได้
3) ผู้ใช้ชื่อ ชื่อทางการค้า หรือเครื่องหมายการค้าที่ทำให้เข้าใจว่าเป็นผู้ผลิต ผู้ว่าจ้างให้ผลิต หรือผู้นำเข้า
4.3.8 การประกันภัยความรับผิดตามกฎหมายอันเกิดจากสินค้าไม่ปลอดภัย (Legal Liability
Insurance for Damages Arising from Unsafe Products) 4.3.9 การประกันภัยอิสรภาพ (Freedom Insurance หรือ Bail Bond Insurance)
พระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าไม่ปลอดภัย พ.ศ. 2551 (Product การประกันภัยอิสรภาพเป็นการประกันภัยที่จัดขึ้นโดยมีแนวความคิดมาจากการที่ศาลยุติธรรม
Liability Law) มีสาระสำคัญ คือ จะจัดระบบการประกันตัวผู้ต้องหาหรือจำเลย โดยเพิ่มทางเลือกให้ประชาชนสามารถใช้หนังสือรับรองความรับผิด
1) กำหนดให้ผู้ประกอบการในประเทศไทย ซึ่งเป็นผู้ผลิต ผู้นำเข้า และผู้จำหน่ายสินค้าต้องรับผิด ของบริษัทประกันภัยเป็นหลักประกันมาวางศาลได้
้
ทางแพ่งต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัยและสินค้าน้นได้มีการขายแลว ไม่ว่าความเสียหายนั้นจะ เมื่อผู้เอาประกันภัยได้ทำประกันภัยอิสรภาพแล้ว บริษัทประกันภัยจะออกหนังสือรับรองให
ั
้
้
เกิดจากการกระทำโดยจงใจหรือความประมาทเลินเล่อของผู้ประกอบการหรือไม่ก็ตาม โดยใช้หลักความรับผิดแบบ ผู้เอาประกันภัยถือไว้ หากผู้เอาประกันภัยไดกระทำความผิดและตกเป็นผู้ต้องหาหรือจำเลยระหว่างระยะเวลา
เคร่งครัด (Strict Liability) ประกันภัย ผู้เอาประกันภัยจะได้รับความสะดวกจากการที่สามารถใช้หนังสือรับรองนี้ยื่นแก่เจ้าพนักงานเพื่อใช้ใน
การประกันตัวโดยไม่ต้องหาหลักทรัพย์อื่นใดมาวางเป็นหลักประกัน
ิ
์
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
้
ํ
ั
ั
ิ