Page 15 - InsuranceJournal105
P. 15
รอบรู้ประกันภัย
สามารถในการปรับตัวหรือไม่สามารถสร้างความสมดุล
ของระดับเงินกองทุนให้สอดคล้องกับระดับความเสี่ยง
ของธุรกิจตนตามที่ถูกกำหนดโดยมาตรฐานใหม่ได้ ก็
อาจที่จะต้องเสี่ยงกับการถูกควบรวมธุรกิจ (Merger and
Acquisition หรือ M&A) ในที่สุด ผลกระทบที่สำคัญอีก
ประการคือ ต้นทุนของการทำธุรกิจที่คาดว่าจะเพิ่มสูงขึ้น
อันเกิดจากการรักษาระดับและการได้มาซึ่งเงินกองทุน
เศรษฐกิจไทยในปี 2553 อย่างเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น ตามที่ได้กำหนดไว้โดยข้อบังคับใหม่นี้
และจะส่งผลกระทบที่เป็นบวกกับธุรกิจฯ โดยเฉพาะการ การปรับลดลงของพิกัดอัตราเบี้ยประกัน
ประกันอัคคีภัย การประกันความเสี่ยงภัยทางทรัพย์สิน อัคคีภัย ที่มีความเป็นไปได้ว่าจะมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ปลาย
และการประกันภัยวิศวกรรม ปี 2552 นั้น คาดว่าจะเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้แนวโน้มที่
เบี้ยประกันภัยประเภทรถยนต์ โดยเฉพาะ กำลังลดลงของเบี้ยประเภทนี้ชะลอลง โดยสัดส่วนของ
ภาคสมัครใจ มีแนวโน้มที่จะกลับมาเติบโตอีกครั้งในปี เบี้ยอัคคีภัยต่อเบี้ยทั้งหมดลดลงเหลือร้อยละ 7 ในปี
2553 แต่ความผันผวนของราคาเชื้อเพลิงและอัตราแลก 2551 จากร้อยละ 9 ในปี 2547
เปลี่ยน ที่ถูกประเมินว่าจะทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นในปี การที่ 76 โครงการลงทุนขนาดใหญ่ในนิคม
2553 จะมีส่วนทำให้อัตราการเจริญเติบโตที่จะเกิดขึ้นไม่ อุตสาหกรรมมาบตาพุดและพื้นที่ใกล้เคียงได้รับคำสั่งจาก
เป็นที่น่าพอใจสักเท่าไหร่นัก เมื่อเทียบกับแนวโน้มในช่วง ศาลปกครองให้ระงับการดำเนินงานไว้ชั่วคราว ถึงแม้ว่า
ระหว่างปี 2547 จนถึงปี 2551 ที่มีอัตราการเติบโตโดย ผลกระทบที่เกิดขึ้นในระยะสั้นคาดว่าจะไม่รุนแรงมากนัก
เฉลี่ยร้อยละ 9 ต่อปี แต่บรรยากาศการลงทุนในระยะยาวต้องสั่นคลอนอย่าง
ถึงแม้ประเทศไทยจะไม่ได้รับผลกระทบ แน่นอน ซึ่งก็จะมีผลกระทบในด้านลบทั้งทางตรงและทาง
โดยตรงจากวิกฤตการณ์ทางการเงินของโลก แต่วิกฤต อ้อมต่อการเจริญเติบโตของธุรกิจฯ ในปี 2553
ครงนคาดวาจะกอใหเกดการเปลยนแปลงอยางมนยสำคญ ด้วยปัจจัยดังกล่าว เศรษฐกิจไทยคาดว่าจะ
ิ
่
้
่
่
ั
ั
ี
ี
่
ี
ั
้
้
ตอธรกจฯ ไมวาจะเปน ในเรองของพฤตกรรมของผูบรโภค มีการขยายตัวเป็นบวกในอัตราร้อยละ 2 ถึง 4 ในปี 2553
่
ิ
่
ิ
ื
้
็
่
่
ิ
ุ
บทบาทที่เพิ่มขึ้นของภาครัฐและหน่วยงานที่มีหน้าที่ เนื่องจาก:
กำกับดูแล หรือแม้กระทั่งความต้องการของนักลงทุน ที่ - การใช้จ่ายภาคเอกชนจะขยายตัวขึ้น
เริ่มหันมาให้ความสำคัญต่อความมั่นคงมากกว่าระดับ โดยเฉลี่ยร้อยละ 4 อันเนื่องมาจากการ
ของผลตอบแทน ที่บ่อยครั้งต้องเผชิญกับความเสี่ยง ฟื้นตัวของเศรษฐกิจ
แอบแฝงหรือไม่สอดคล้องกับสิ่งที่ได้รับ ดังนั้นบริษัท - การลงทนภาคเอกชนจะมการปรบตวดขน
ี
ุ
้
ึ
ั
ี
ั
ั
้
ประกันวินาศภัยจำเป็นที่จะต้องฉกฉวยโอกาสที่จะเกิดขึ้น โดยเฉลยรอยละ 5 อนเปนผลพวงมาจาก
ี
่
็
จากการเปลี่ยนแปลงนี้และพร้อมที่จะรับมือกับการ การใช้นโยบายผ่อนปรนทางการคลังและ
เปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น การเงินของภาครัฐ
กฎระเบยบและมาตรการตางๆ ทกำลงทยอย
ี
ี
่
่
ั
ออกมาบังคับใช้ในอนาคตอันใกล้นี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ี
ั
ั
ุ
การกำกบดูแลเงนกองทนตามระดบความเสยง (Risk-Based
่
ิ
Capital) เป็นต้น การเปลี่ยนแปลงที่มีความสำคัญระดับนี้
ั
ุ
่
้
้
ิ
่
ี
จะทำใหโครงสรางและการแขงขนของธรกจฯ เปลยนโฉมไป
อย่างมีนัยสำคัญ หน่วยธุรกิจหรือองค์กรใดที่ขาดความ
วารสารประกันภัย 15
ตุลาคม - ธันวาคม 2552