Page 25 - InsuranceJournal107
P. 25

รอบรู้ประกันภัย










                     อนาคตประเทศไทย






                     กับการก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ




             	 การที่ผมได้พยายามเน้นส่งเสริมให้ทุกท่านออม 	 หมายความว่า ประชากรวัยกำลังแรงงาน 100 คน จะ

             เพื่อเกษียณในบทความตอนที่ผ่านมานั้น เพราะมีข้อมูล  ต้องรับภาระในการเลี้ยงดูผู้สูงอายุ 16 คนนอกจากนี้ จาก

             ที่น่าตกใจว่า ประเทศไทยได้กลายเป็นสังคมผู้สูงอายุ   การสำรวจยังพบว่า สัดส่วนของผู้สูงอายุที่อยู่คนเดียว

             (Aging Society) แล้ว และมีแนวโน้มที่ชัดเจนว่า สัดส่วน  ตามลำพังในครัวเรือนมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น โดยปี 2537 มี
             ของประชากรสูงอายุจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในอนาคต  	 ผู้สูงอายุที่อยู่คนเดียวร้อยละ 3.6 ปี 2545 เพิ่มเป็นร้อยละ
             หากเราไม่เริ่มต้นการออมเสียแต่วันนี้ ประเทศไทยใน  	 6.3 ล่าสุดปี 2550 เพิ่มเป็นร้อยละ 7.7


             อนาคตจะเต็มไปด้วยผู้สูงอายุที่ไม่มีเงินพอเลี้ยงชีพ เป็น     การที่ประเทศไทยจะมีสัดส่วนของผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น
             ระเบิดเวลาที่รอวันทำลายความมั่นคงของประเทศ       จะส่งผลกระทบโดยตรงต่อผู้สูงอายุในอนาคตอันใกล้ นั่น

                 ประเทศไทยได้กลายเป็นสังคมผู้สูงอายุแล้ว
     คือ ผู้ที่อยู่ในวัยแรงงานจะต้องรับภาระในการเลี้ยงดูและ
                  สหประชาชาติ (UN) ได้ให้คำนิยามว่า ประเทศใดมี 	  ดูแลผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น และในที่สุดผู้ที่อยู่ในวัยแรงงาน

             ประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปเป็นสัดส่วนเกิน 10% หรืออายุ  	  และผู้สูงอายุจะอยู่ในสภาพอ่อนแอทั้งสองฝ่าย จะมีผู้สูง
             เกิน 65 ปีขึ้นไป เกิน 7% ของประชากรทั้งประเทศ ถือว่า  	  อายุที่ถูกละเลยหรือถูกทอดทิ้งเพิ่มมากขึ้น
             ประเทศนั้นได้ก้าวเข้าสู้สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society)  	  สัดส่วนผู้สูงอายุจะเพิ่มจาก
             และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society)  	    11% เป็น 25% ในอีก 20 ปีข้างหน้า

             เมื่อสัดส่วนประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป เพิ่มเป็น 20% และ 	 	  รายงานการคาดประมาณประชากรของประเทศไทย

             อายุ 65 ปีขึ้นไป เพิ่มเป็น 14% จากผลการสำรวจของ  พ.ศ. 2543-2573 จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการ

             สำนักงานสถิติแห่งชาติ 3 ครั้งที่ผ่านมา พบว่าประเทศไทย  พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศค.) เผยแพร่
             มีจำนวนและสัดส่วนของผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว 	 เมื่อเดือนตุลาคม 2550 มีข้อมูลที่น่าสนใจดังนี้
             และต่อเนื่อง โดยในปี 2537 มีจำนวนผู้สูงอายุ คิดเป็น 	    จากการประมาณการของ  สศค.  คาดว่า  ในปี
             ร้อยละ 6.8 ของประชากรทั้งประเทศ ปี 2545 เพิ่มเป็น  	 พ.ศ. 2553 ประเทศไทยจะมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป
             ร้อยละ 9.4 ผลสำรวจครั้งล่าสุด ปี 2550 พบว่าผู้สูงอายุ 	 จำนวน 8,010,946 คน คิดเป็นสัดส่วน 11.90% ของ
             เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 10.7                         ประชากรทั้งประเทศ ในอีก 10 ปีข้างหน้า คือปี พ.ศ.


             	    จากข้อมูลข้างต้นจึงสรุปได้ว่า ประเทศไทยได้กลาย  2563 จำนวนประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป จะเพิ่มขึ้นเป็น
             เป็นสังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) แล้ว         12,272,035 คน คิดเป็นสัดส่วน 17.51% ของประชากร
                  อีกตัวเลขหนึ่งที่น่าสนใจคือ “อัตราส่วนการเป็น 	 ทั้งประเทศ ถัดไปอีก 10 ปี คือปี พ.ศ. 2573 จำนวน

             ภาระวัยสูงอายุ (Aging Dependency Ratio)” คือการ  ประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปจะเพิ่มขึ้นเป็น 17,743,822 คน
             คำนวณอัตราส่วนผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปีขึ้นไป) ต่อผู้ที่อยู่  	 คิดเป็นสัดส่วน 25.12% ของประชากรทั้งประเทศ

             ในวัยทำงาน (อายุ 15 - 59 ปี) 100 คน โดยปี 2537 มี     สรุปง่ายๆ ก็คือว่า ในอีก 20 ปีข้างหน้า ประชากร
             อัตราส่วนการเป็นภาระวัยสูงอายุเท่ากับ 10.7 เพิ่มขึ้น 	 ไทย 1 ใน 4 คนเป็นผู้สูงอายุ
             เป็น 14.3 ในปี 2545 และเพิ่มขึ้นเป็น 16.0 ในปี 2550


                                                                                           วารสารประกันภัย      25
                                                                                           เมษายน  -  มิถุนายน  2553
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30