Page 26 - InsuranceJournal107
P. 26
รอบรู้ประกันภัย
แหล่งรายได้หลักของผู้สูงอายุ ส่งเสริมการออมเพื่อสร้างรากฐาน
ในขณะเดียวกัน ข้อมูลจากการสำรวจของสำนักงาน ที่มั่นคงของประเทศ
สถิติแห่งชาติเมื่อปี พ.ศ. 2550 พบว่า ผู้สูงอายุมากกว่า จากข้อมูลข้างต้น ท่านคงพอจะเห็นภาพแล้วนะ
ครึ่ง คือร้อยละ 52.3 มีแหล่งรายได้หลักจากบุตร จำนวน ครับว่า ในวันนี้ประเทศไทยกลายเป็นสังคมผู้สูงอายุแล้ว
รองลงมา คือ ร้อยละ 28.9 มีรายได้หลักจากการทำงาน และมีแนวโน้วชัดเจนว่าจะมีสัดส่วนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอีก
ร้อยละ 6.1 มีรายได้หลักจากคู่สมรส ร้อยละ 4.4 มีรายได้ หลายเท่า หากเราไม่เริ่มออมเงินกันในวันนี้ ในอนาคต
หลักจากเงินบำเหน็จ/บำนาญ ร้อยละ 2.9 มีรายได้หลัก ประเทศไทยจะเต็มไปด้วยผู้สูงอายุที่ทั้ง “จน” และ “เจ็บ”
จากเงินออมและทรัพย์สิน ร้อยละ 2.8 มีรายได้หลักจาก คือไม่มีรายได้พอเลี้ยงชีพและมีปัญหาด้านสุขภาพ
เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ และร้อยละ 2.3 มีรายได้หลักจาก ลองคิดดูว่าในด้านหนึ่งเราไม่มีรายได้ แต่ในอีกด้านหนึ่ง
พี่น้อง/ญาติ เราเจ็บป่วย ซึ่งต้องใช้เงินในการรักษา จะลำบากเพียงใด
ลองคิดเลขคร่าวๆ จะพบว่า ผู้สูงอายุเกือบ 2 ใน 3 ผมได้เล่าเรื่องกองทุนบำนาญต่างๆ ให้ทราบใน
ดำรงชีพด้วยการพึ่งพาลูกหลานและคนในครอบครัว (บุตร ตอนที่แล้ว เพื่อชี้ให้เห็นว่า โชคดีที่ในวันนี้ประเทศไทยมี
คู่สมรส พี่น้อง ญาติ) อีกเกือบ 1 ใน 3 ยังต้องทำงานเพื่อ ระบบการออมทั้งภาคบังคับและภาคสมัครใจ โดยเฉพาะ
ให้มีรายได้เลี้ยงชีพ ทั้งๆ ที่ควรอยู่ในวัยแห่งการพักผ่อน อย่างยิ่ง กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ กองทุนประกัน
แล้ว มีผู้สูงอายุเพียงร้อยละ 4.4 เท่านั้นที่มีรายได้หลัก สังคมกรณีชราภาพ และกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เพื่อเป็น
จากเงินบำเหน็จ/บำนาญ และร้อยละ 2.9 ที่มีรายได้หลัก “เสาหลัก” ในการส่งเสริมการออมเพื่อเกษียณ การมี
จากเงินออมและทรัพย์สิน กองทุนบำนาญเหล่านี้ก็เพื่อให้มั่นใจว่า เมื่อคนที่อยู่ในวัย
ภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ แรงงานในปัจจุบันเริ่มทยอยเกษียณในอนาคต จะได้มี
ในอีกมิติหนึ่ง ข้อมูลจากการสำรวจของสำนักงาน เงินบำเหน็จ/บำนาญไว้เลี้ยงชีพ ลดภาระการพึ่งพาลูก
สถิติแห่งชาติเมื่อปี พ.ศ. 2550 พบว่า ผู้สูงอายุร้อยละ หลานหรือคนในครอบครัว และไม่เป็นภาระของรัฐบาล
31.7 ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง (เพิ่มขึ้นจากร้อยละ อย่างไรก็ดี กองทุนบำนาญข้างต้นสร้างหลักประกัน
20 เมื่อปี 2545) ร้อยละ 13.3 เป็นโรคเบาหวาน ร้อยละ 7 ด้านการเงินให้กับประชาชนจำนวนรวมประมาณ 10 ล้านคน
เป็นโรคหัวใจ ฯลฯ นอกจากนี้ ข้อมูลจากกรมการแพทย์ เท่านั้น คิดเป็นสัดส่วนประมาณ 1 ใน 3 ของประชากรใน
พบว่า โรคที่มีการป่วยเพิ่มขึ้นในอัตราที่ค่อนข้างสูงในผู้ วัยแรงงาน ยังมีประชากรอีก 2 ใน 3 ที่ไม่มีหลักประกัน
สูงอายุ ได้แก่ เนื้องอกร้ายที่หลอดคอ หลอดลม และปอด, ด้านการเงิน ทั้งนี้ รัฐบาลได้มีนโยบายขยายความคุ้มครอง
เนื้องอกร้ายที่อื่นๆ และที่ไม่ทราบสาเหตุ, โรคหัวใจขาด ไปยังประชากรกลุ่มนี้แล้ว ซึ่งส่วนใหญ่เป็นแรงงานนอก
เลือดอื่นๆ โดยในช่วงปี 2550 มีอัตราการป่วยเพิ่มขึ้นเกิน ระบบ ได้แก่ กลุ่มที่ทำงานรับจ้าง (แรงงานประมง คนทำงาน
ร้อยละ 50 บ้าน คนขับรถส่วนตัว) กลุ่มที่ทำอาชีพอิสระ (เกษตรกร
นอกจากการเจ็บป่วยทางร่างกายแล้ว ยังพบว่า แม่ค้า คนขับรถรับจ้าง) เป็นต้น
ผู้สูงอายุเป็นกลุ่มประชากรที่มีโอกาสเกิดโรคซึมเศร้า
ได้มากกว่าวัยอื่น โดยพบว่าร้อยละ 30 ของผู้สูงอายุเคย
แหล่งข้อมูล
1. เอกสารเผยแพร่ เรื่อง “ก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ” จัดทำโดย กระทรวงการ
มีประสบการณ์ของการมีภาวะซึมเศร้าที่รุนแรงที่ส่งผล พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
กระทบกระเทือนต่อชีวิตประจำวันอย่างน้อย 1 ครั้ง และ 2. “รายงานการสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2550” จัดทำ
โดย สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ร้อยละ 90 ของผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าจะมีอารมณ์ 3. “การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2543-2573” จัดทำ
เศร้าหรือหดหู่อย่างต่อเนื่อง มีความรู้สึกเสียใจ เศร้าใจ โดย สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
(สศค.)
ผิดหวัง อ้างว้าง เบื่อ เซ็ง ท้อแท้ อ่อนอกอ่อนใจ ทอดอาลัย
ในชีวิต รวมทั้งมีปัญหาเรื่องการนอนไม่หลับร่วมด้วย ที่มา : วิน พรหมแพทย์ สำนักบริหารการลงทุน สำนักงานประกันสังคม
ที่มา : ASTVผู้จัดการออนไลน์ วันที่ 6 เมษายน 2553
26 วารสารประกันภัย
เมษายน - มิถุนายน 2553