Page 28 - InsuranceJournal118
P. 28

3. กำรด�ำเนินกำรด้ำนกำรประกันภัยของประเทศในอำเซียน

                ประเทศ                                     การด�าเนินการ

            บรูไนดำรุสซำลำม   • บรูไนได้ก่อตั้ง AutoritiMonetari Brunei Darussalam (AMBD) ขึ้น เมื่อเดือนมกราคม 2554 โดย
                                มีวัตถุประสงค์ในการกำากับดูแล ติดตาม ธุรกิจประกันภัยและตะกะฟุล (Takaful)
                              • ปัจจุบันบรูไนอยู่ในช่วงของการพัฒนามาตรฐานการกำากับ รวมถึงกฎระเบียบที่เอื้ออำานวยต่อภาคธุรกิจ
                                ประกันภัย เช่น ข้นตอนการขอจัดต้งสมาคมท่เก่ยวข้องกับธุรกิจประกันภัยและตะกะฟุล หรือกระบวนการ
                                                                 ี
                                                          ั
                                                                  ี
                                             ั
                                ขอใบอนุญาตการเป็นตัวแทนประกันภัย
            กัมพูชำ           • อุตสาหกรรมธุรกิจประกันภัยอยู่ในช่วงแรกของการพัฒนา โดยมีอัตราการเติบโตอย่างต่อเนื่อง
                                                                ึ
                              • ในปี 2555 มีจำานวนบริษัทประกันชีวิตเพิ่มข้น 2 บริษัท และภาคประกันวินาศภัยท่มีแนวโน้มการเติบโต
                                                                                            ี
                                ที่ดีขึ้น
                              • มีการปรับปรุงพิกัดภาษีด้านอัคคีภัยและเร่มการรับประกันภัยข้ามพรมแดน (cross-border insurance)
                                                               ิ
                                สำาหรับการประกันภัยภาครถยนต์
            อินโดนีเซีย       • ในปี 2554 ธุรกิจประกันภัยเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยเบี้ยประกันภัยรวมเติบโตร้อยละ 17.9
                                                                                             ่
                                             ี
                                                 ่
                                              ้
                                                     ำ
                                                                                      ิ
                                                       ั
                              • ออกกฎระเบียบทเอือตอการกากบและติดตามธุรกิจประกนภัย เชน บริษัทวนาศภัยทรบประกนภัยรถยนต
                                                                         ั
                                                                                             ี
                                                                               ่
                                                                                                           ์
                                             ่
                                                                                                   ั
                                                                                              ั
                                จะต้องส่งรายงานประจำาปีด้านความเสี่ยงและการสูญเสีย (Risk profile and loss annual Report)
                                                            ั
                              • เกณฑ์อัตราส่วนการดำารงเงินกองทุนข้นตำาสำาหรับบริษัทประกันภัยและบริษัทรับประกันภัยต่อถูกกำาหนด
                                                              ่
                                                                               ำ
                                                                               ่
                                ขึ้นใหม่ เพื่อสร้างความเข้มแข็งและป้องกันภาวะเศรษฐกิจตกตา
                              • ปรับปรุงกฎระเบียบเพื่อเป็นการสนับสนุนความเข้มแข็งด้านการเงิน ความโปร่งใส ความน่าเช่อถือ และ
                                                                                                    ื
                                ความยุติธรรมของธุรกิจประกันภัย
            ลำว               • ปัจจุบันประเทศลาวยังไม่ได้เป็นสมาชิกสมาคมผู้กำากับดูแลธุรกิจประกันภัย (International Association
                                of Insurance Supervisors: IAIS) อย่างไรก็ตาม การสร้างความเข้มแข็งในการกำากับธุรกิจประกันภัย
                                ได้รับการเพิ่มพูนความรู้จาก ASEAN Insurance Training and Research Institute (AITRI)
                              • ปรับปรุงกฎหมายประกันภัยและการป้องกันการฟอกเงินและต่อต้านการก่อการร้าย  (Anti-Money
                                Laundering and the Combating Financing of Terrorism: AML/CFT) รวมถึงการคุ้มครองผู้
                                บริโภค
            มำเลเซีย          • อัตราส่วน Insurance Penetration ลดลงเล็กน้อย
                              • ด้านการประเมิน Core Principle ประเทศมาเลเซียได้รับการประเมิน “Observed” หรือ “Largely
                                observed” จำานวน 22 ข้อ จาก 26 ข้อ
                              • จัดทำากรอบการพัฒนากฎระเบียบและการกำากับธุรกิจประกันภัย เพื่อเป็นการสนับสนุนและส่งเสริมความ
                                เข้มแข็งของเศรษฐกิจและภาคการเงินในภูมิภาค
                              • ออกกฎระเบียบท่ส่งเสริมนายหน้าประกันภัยในการดำาเนินธุรกิจในภูมิภาคอาเซียน  โดยเฉพาะการรับ
                                             ี
                                ประกันภัยข้ามพรมแดนท้งด้านทะเล อากาศและการขนส่ง รวมถึงการออกกฎระเบียบการควบคุมระดับ
                                                   ั
                                ความเสี่ยงในการรับประกันภัยที่เกิดขึ้นด้วย
                              • Bank Negara Malaysia ได้ดำาเนินการจัดทำากรอบการบริหารความเสี่ยง แนวทางการดำารงเงินกองทุน
                                ซึ่งรวมถึงเรื่องต่างๆ เช่น Internal Capital Adequacy Assessment (ICAAP) Risk Governance
                                standards แนวทางในการจัดทำารายงานทางการเงินของบริษัทประกันภัย กรอบการดำารงเงินกองทุน
                                ตามความเสี่ยงสำาหรับตะกะฟุลและแนวทางการประเมินมูลค่าภาระหนี้สิน (Valuation for liabilities)
                                ของธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับตะกะฟุล
                              • นอกจากนี้ มาเลเซียได้จัดทำา Malaysia’s Financial Sector Blueprint 2011-2020 และ Private
                                Pension Industry development program ขึ้น

            ฟิลิปปินส์        • ภาคธุรกิจประกันภัยเติบโตขึ้นร้อยละ 16
                              • โดยเฉพาะต้งแต่ปี 2553 มีการจัดทำากรอบการกำากับด้าน Micro-insurance และกลยุทธ์ระดับชาติด้าน
                                         ั
                                Micro-insurance (National Strategy for Micro-insurance) ซึ่งได้มีการจัดทำากรอบการดำาเนินงาน
                                                           ี
                                ร่วมกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐท่เก่ยวข้องกับพัฒนา Micro-insurance เพื่อให้การพัฒนาเป็นไปอย่าง
                                                         ี
                                มีประสิทธิภาพ


     28
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33