Page 29 - InsuranceJournal118
P. 29
ประเทศ การด�าเนินการ
ิ
• ได้ริเร่มจัดทำา Roadmap to Financial Literacy on Micro-insurance จัดทำาแบบกรมธรรม์
Micro-insurance ทั้งประกันชีวิตและประกันวินาศภัย ออกหนังสือเวียนด้านมาตรฐานการดำาเนินงาน
และแนวทางในการควบคุมคุณภาพการให้ความรู้แก่บุคลากรประกันภัย เป็นต้น
• นอกจากนี้ ฟิลิปปินส์ได้จัดทำาจรรยาบรรณสำาหรับธุรกิจประกันภัย ซึ่งขณะนี้รอความเห็นชอบจากสภา
ั
ื
ั
ึ
ี
่
ิ
ึ
้
่
ั
้
• ความท้าทายทเกดขนภายในประเทศ คอ การแข่งขนระหว่างภาครฐ ซงได้จัดตง Government
Service and Insurance System (GSIS) และภาคเอกชน ในเรื่องของภาระภาษีที่เกิดขึ้นในภาค
ประกันวินาศภัย ซึ่งเป็นเหตุทำาให้การขยายตัวของภาคธุรกิจลดลง
ี
ี
สิงคโปร์ • ภาคธุรกิจประกันภัยเติบโตอย่างมากในปี 2554 อย่างไรก็ตาม สิ่งท่น่าจับตามองคือผลกำาไรท่เกิดข้น
ึ
เห็นได้จากมูลค่าหุ้นที่ลดลง ส่วนต่างด้านเครดิต (credit spread) และการชดใช้สินไหมที่เพิ่มขึ้น โดย
เฉพาะสินไหมที่เกิดขึ้นในภาคธุรกิจประกันวินาศภัย เนื่องจากมหันตภัยที่เกิดขึ้น
• ความเสี่ยงท่เกิดข้นในอุตสาหกรรมประกันภัยของสิงคโปร์ คือ ความเสี่ยงด้านตลาด เช่น ความเสี่ยงจาก
ึ
ี
มูลค่าหุ้น ความเสี่ยงจากส่วนต่างด้านเครดิต (credit spread risk) และความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย
และค่าสินไหมทดแทนที่มีมูลค่าสูง
• ในเดือนมีนาคม 2554 มีการปรับปรุงกฎระเบียบด้านการวัดมูลค่าและการดำารงเงินกองทุน (valuation
and capital) ให้เกิดความชัดเจนและเป็นการปรับปรุงประสิทธิผลของภาคธุรกิจประกันภัย นอกจากนี้
มีการปรับปรุงเกณฑ์วิธีการคำานวณภาษีสำาหรับสมาชิก PPF Scheme
ำ
้
ไทย • ภาคธุรกิจประกันวินาศภัยได้รับผลกระทบอย่างมากจากภัยนาท่วมครั้งใหญ่
• มีการเติบโตทั้งธุรกิจประกันชีวิตและประกันวินาศภัย
ึ
• ภาครัฐได้จัดต้งกองทุนภัยพิบัติข้นเพื่อเป็นการบริหารความเสี่ยงผ่านบริษัทประกันภัย และบริษัทประกัน
ั
ภัยต่อ
• สำานักงานคณะกรรมการกำากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) ได้จัดทำาความตกลง
ร่วมกัน (MOU) กับ The Financial Services Commission (FSC) และ Financial Supervisory
Service (FSS) ประเทศเกาหลี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมและเสริมสร้างความร่วมมือระหว่าง
หน่วยงานกำากับ
• จัดทำาประกาศคณะกรรมการกำากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ
ื
และเง่อนไขในการรับประกันภัยต่อของบริษัทประกันชีวิตและบริษัทประกันวินาศภัย โดยพิจารณาอันดับ
ความน่าเชื่อถือ (international standard credit ratings) ของผู้รับประกันภัยต่อในต่างประเทศ
ั
เวียดนำม • กรอบการดำาเนินงานด้านการประกนภัย มีความก้าวหน้าจากการทได้เพิ่มเติมไวในกฎหมายเมื่อกรกฎาคม
้
ี
่
2554
• จัดทำากฎระเบียบและแนวทางการดำาเนินงานใหม่ๆ เพื่อให้ธุรกิจประกันภัยสามารถดำาเนินงานได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ เช่น Decision No.193/QD-TTg ซึ่งเป็นส่วนหนี่งของแผนการพัฒนาภาคประกันภัย
ต้งแต่ปี 2554-2563 ของประเทศเวียดนาม (Vietnam’s Insurance Market Development Strategy
ั
for the period 2011-2020) ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อรักษาเสถียรภาพและสร้างความยั่งยืนของตลาด
ประกันภัย นอกจากนี้ ยังครอบคลุมถึงการจัดทำากรมธรรม์ให้เหมาะสมกับความต้องการที่หลากหลาย
ของผู้บริโภคทั้งบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล โดยการดำาเนินการต่างๆ ยังมุ่งการยกระดับให้เป็นไปตาม
มาตรฐานสากล
ผู้จัดทำา: นายแมน เชาว์วิศิษฐ
ผู้ตรวจทาน: นายอุดมเกียรติ สวัสดิ์พานิช
ฝ่ายวิจัยและวางแผน
สถาบันวิทยาการประกันภัยระดับสูง
สำานักงานคณะกรรมการกำากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย
29