Page 21 - InsuranceJournal124
P. 21
วิชาการ IPRB
ความเสียหายของการประกันภัย
รถยนต์จากการโจรกรรม
นายสาโรจน์ เกษมสุขโชติกุล
นางสาวสุมนา ชาญชัยสัมฤทธิ์
นายกนต์ธร ชัยนิวัฒนา
ส�านักงานอัตราเบี้ยประกันวินาศภัย
จากข้อมูลจากส�านักงานต�ารวจแห่งชาติ ระบุว่า ในช่วง 3-4
ี
ื
ปีท่ผ่านมา แม้แนวโน้มของคดีโจรกรรมรถจะลดลงเน่องจากการ
ปราบปรามอย่างจริงจังของเจ้าหน้าที่ต�ารวจ อย่างไรก็ดี คดีประเภทนี้
ิ
ก็ยังคงเกิดข้นอยู่อย่างต่อเน่อง โดยนับวันย่งจะมีการพัฒนารูปแบบและ
ึ
ื
ึ
�
วิธีการใหม่ๆ ในการโจรกรรมมากข้น ทากันเป็นขบวนการในลักษณะ
ขององค์การอาชญากรรม มีเครือข่ายทั้งในและนอกประเทศ ทั้งหมดนี้
เป็นปัญหาสร้างความเดือดร้อนต่อประชาชน อีกทั้งยังส่งผลกระทบต่อ
ธุรกิจประกันวินาศภัยในส่วนของการรับประกันภัยรถยนต์
ส�านักงานอัตราเบ้ยประกันวินาศภัย (IPRB) ได้รวบรวมข้อมูล
ี
ี
ี
ื
สถิติท่เก่ยวข้องกับการโจรกรรมรถจากแหล่งข้อมูลต่างๆ เพ่อศึกษาถึง
ความเสียหายที่มีต่อการประกันภัยรถยนต์ โดยมีรายละเอียดดังนี้
1. วงจรรถหาย
จากคดีรถหายที่มีการแจ้งความกับเจ้าหน้าที่ต�ารวจนั้น เมื่อมี
การสอบสวนหรือสืบคดีไปจะพบว่ามีอยู่บ่อยคร้งท่รถหายไม่ได้เกิดข้น
ั
ี
ึ
จากการโจรกรรม แต่เป็นการฉ้อฉลของเจ้าของรถเอง หรือจากขบวนการ
ั
ิ
ั
้
่
ึ
ี
ฉ้อฉล ซงการฉ้อฉลนสามารถสร้างความเสียหายให้แก่บรษทประกน
วินาศภัยที่รับประกันภัยรถยนต์คันนั้นๆ หากบริษัทฯ ไม่สามารถพิสูจน์
ความจริงท่เกิดขึ้นได้ โดยข้อมูลของสานักงานตารวจแห่งชาติ ระบุว่า
�
�
ี
ั
จากคดีแจ้งความรถหายท้งหมดท่ทางเจ้าหน้าท่ตารวจรับแจ้ง เจ้าหน้าท ี ่
ี
�
ี
ต�ารวจสืบพบว่าเป็นการฉ้อฉลประมาณร้อยละ 30 ซึ่งกรณีนี้เป็นกรณีที่
รถไม่ได้ถูกโจรกรรมและไม่ได้สูญหายจริง
วารสารประกันภัย เดือนกรกฎาคม-กันยายน 2557 21
FON_TGIA.indd 19 30/10/2557 13:56