Page 15 - InsuranceJournal129
P. 15
รอบรู้ประกันภัย
หากพิจารณาในมุมของรูปแบบของกรมธรรม์แล้ว จะสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 รูปแบบด้วยกัน กล่าวคือ 1. การประกันภัยผู้เอา
ประกันภัย (First-party insurance) และ 2. การประกันภัยความรับผิดต่อบุคคลภายนอก (Third-party or liability insurance) ซึ่งรูปแบบ
ความคุ้มครองสรุปได้ดังนี้
12
First-Party Ins. Third-Party/Liability Ins.
คุ้มครองความเสียหายที่เกิดขึ้นกับข้อมูล รวมไปถึง software คุ้มครองความเสียหายท่เกิดข้นกับลูกค้า เน่องจากระบบ
ี
ึ
ื
และระบบโครงข่ายขององค์กร ความปลอดภัยขององค์กรถูกล่วงละเมิด (Security breach)
ี
ุ
คุ้มครองความเสียหายท่เกิดจากธุรกิจหยุดชะงัก อันมีสาเหต คุ้มครองความเสียหายอันเกิดจากการจารกรรมข้อมูลของลูกค้า
มาจาก software หรือระบบโครงข่ายเกิดการขัดข้องจากการ รวมไปถึงค่าชดใช้แก่ผู้ตกเป็นเหย่อและค่าใช้จ่ายในการ
ื
คุกคามด้านไซเบอร์ กู้คืนข้อมูล
ุ
ิ
คุ้มครองความเสียหายจากการกระทาท่เป็นการรีดเอาทรัพย์ ค้มครองความเสียหายอนเกดจากระบบโครงข่ายหยดให้บรการ
ิ
�
ี
ุ
ั
หรือการกรรโชกจากอาชญากรรมไซเบอร์ (cyber-extortion แก่ลูกค้า หรือความเสียหายอันมีผลมาจากการแพร่ระบาดของ
protection) ได้แก่ ค่าไถ่ และค่าใช้จ่ายท่เกิดข้นจากการ โปรแกรมที่ไม่พึงประสงค์
ึ
ี
ต่อรอง เป็นต้น
คุ้มครองความเสียหายจากการใช้ส่อออนไลน์ เช่น website,
ื
email, instant messaging และ chat rooms
ี
คุ้มครองความเสียหายต่อบุคคลท่สามอันเกิดจากการละเลย
หรือขาดความระมัดระวังขององค์กร
การประกันภัยไซเบอร์ในประเทศไทยและความต้องการ
ี
จากการสารวจและสอบถามผู้เช่ยวชาญในวงการประกันวินาศภัยไทยพบว่า บริษัทประกันภัยในประเทศไทยในปัจจุบันยังไม่ได้มีการนา �
�
่
ี
ั
ั
ี
ู
เสนอกรมธรรม์ประกนภัยไซเบอร์แต่อย่างไร อย่างไรก็ตาม เป็นทคาดกนว่าความต้องการกรมธรรม์ลกษณะเช่นน้ในประเทศไทยน้นจะมีอย่ใน
ั
ั
ระดับที่มากพอสมควร จากระดับความเสี่ยงที่เผชิญอยู่ในปัจจุบันและแนวโน้มที่ถูกมองว่าก�าลังเพิ่มมากยิ่งขึ้นในอนาคตอันใกล้ ดังที่ได้แสดงใน
หัวข้อข้างต้น กอปรกับการที่หลาย ๆ ภาคส่วนได้ให้ความส�าคัญกับเรื่องความปลอดภัยด้านไซเบอร์ในระดับต้น ๆ
�
�
ั
ในปัจจุบัน ภาครัฐได้ให้ความสาคัญกับความม่นคงปลอดภัยด้านไซเบอร์เป็นอย่างมาก จึงได้มีแนวคิดในการกาหนดยุทธศาสตร์การวิจัย
รายประเด็นด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ (พ.ศ. 2556-2560) เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของประเทศ ซึ่งยุทธศาสตร์ดังกล่าวได้ระบุ
กลุ่มหน่วยงานท่มีความสุ่มเส่ยงต่อภัยคุกคามด้านไซเบอร์ไว้อย่างชัดเจน จึงเป็นท่คาดว่ากรมธรรม์ประกันภัยไซเบอร์น่าจะเป็นท่ต้องการของ
ี
ี
ี
ี
หน่วยงานต่าง ๆ เหล่านี้ ซึ่งประกอบด้วย
I. หน่วยงานด้านความมั่นคง และภาคบริการประชาชน เช่น กองทัพ ส�านักงานต�ารวจแห่งชาติ ศาล กรมสอบสวนคดีพิเศษ ส�านัก
ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ปปง.) ส�านักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) เป็นต้น
II. หน่วยงานการให้บริการด้านสาธารณสุข
III. หน่วยงานด้านการเงิน การธนาคาร และพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น ธนาคาร บริษัทหลักทรัพย์ ประกันภัย ตลาดหลักทรัพย์ ผู้ให้
บริการด้านเครดิต เป็นต้น
IV. หน่วยงานด้านสาธารณูปโภคพื้นฐาน เช่น การไฟฟ้า การประปา เป็นต้น
V. หน่วยงานด้านพลังงาน
VI. หน่วยงานด้านการคมนาคม/ขนส่ง เช่น ธุรกิจด้านสายการบิน เป็นต้น
ั
ี
ื
VII. หน่วยงานด้านสื่อสารและโทรคมนาคม เช่น บริษัทท่ให้บริการอินเทอร์เน็ต ผู้ให้บริการโทรศัพท์มอถือ ดาวเทียม สถานีโทรทศน์ เป็นต้น
12 Using Insurance to Mitigate Cybercrime Risk: Challenges and recommendations for insurers, 2012, Capgemini
วารสารประกันภัย เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2558 15