Page 24 - InsuranceJournal129
P. 24
วิชาการ IPRB
ี
ั
ี
ื
ี
โอกาสท่จะเกิดการร่วไหลของข้อมูลอันเน่องมาจากความเส่ยงด้านไซเบอร์ (Cyber Risk) ท่คุกคามธุรกิจ กลายเป็นโอกาสของการพัฒนา
ั
ผลิตภัณฑ์ประกันภัยให้ตอบสนองความต้องการของธุรกิจ ไม่ว่าธุรกิจท่มีความเส่ยงน้นจะอยู่ในธุรกิจประเภทบริการ สถาบันการเงิน ส่อ พลังงาน
ื
ี
ี
การดูแลสุขภาพ และธุรกิจอื่น ๆ ในสหรัฐอเมริกา ตามรายงานของบริษัทที่ปรึกษา Marsh Global Analytics เผยว่า การประกันภัยไซเบอร์
(Cyber Insurance) ได้รับการตอบรับที่ดีจากลูกค้ากลุ่มธุรกิจต่าง ๆ เพิ่มสูงขึ้นในปี 2557 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มสูงขึ้น
อย่างต่อเนื่อง (รูปที่ 3)
รูปที่ 3: การเติบโตของการประกันภัยไซเบอร์
ที่มา: Marsh Global Analytics
นอกจากนี้ World Law Groups ยังได้จัดท�า “Global Guide to Data Breach Notifications” อันเป็นผลให้นานาชาติต่างผลักดัน
ึ
�
�
�
ี
ี
กฎหมายท่เก่ยวข้องกับการร่วไหลของข้อมูลให้เกิดข้น โดยสาระสาคัญของกฎหมายท่แต่ละประเทศกาหนดหรือร่างไว้ คือการกาหนดบทบาท
ี
ั
ั
ี
หน้าท่ท่ผู้ดูแลข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ต้องปฏิบัติเม่อเกิดเหตุการณ์การร่วไหลของข้อมูล ตัวอย่างเช่น องค์กรท่มีการร่วไหลของข้อมูลต้องแจ้ง
ั
ี
ื
ี
เจ้าของข้อมูลให้รับทราบถึงการรั่วไหล หรืออาจต้องแจ้งไปยังหน่วยงานของรัฐที่มีหน้าที่ก�ากับดูแล ข้อกฎหมายดังกล่าวนี้เองท�าให้องค์กรต่างๆ
มีความเสี่ยงต่อค่าใช้จ่ายในเหตุการณ์การรั่วไหลของข้อมูล
จากการจัดอันดับของสถาบันวิจัยด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ Kaspersky Lab อัตราการโดนโจมตีทางอินเทอร์เน็ตของประเทศไทย
อยู่ในอันดับที่ 7 โดยอัตราการโดนโจมตีทางอินเทอร์เน็ตที่ท�าให้เกิด Online Infection อยู่ที่ร้อยละ 31.56 ตามรูปที่ 4
รูปที่ 4: อัตราการโดนโจมตีทางอินเทอร์เน็ตของแต่ละประเทศสูงสุด 10 อันดับแรก
ที่มา: Kaspersky Lab
24 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 129