Page 5 - TGIA_AnnualReport2012
P. 5
จากการที่ประเทศไทยต้องเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ ASEAN Economic Community สมาคมประกันวินาศภัยไทย
ำ
ำ
ี
ได้ทาการว่าจ้างบริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย ท่ปรึกษาธุรกิจ จากัด ทาการศึกษาถึง “ผลกระทบของการเปิดเสรีตลาดอาเซียนท่มีต่อธุรกิจประกัน
ำ
ี
วินาศภัยไทย” เพื่อเป็นการรับทราบปัญหาและอุปสรรครวมทั้งโอกาสของธุรกิจประกันวินาศภัยในการรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ท้งน้ งานศึกษาดังกล่าวจะเป็นการศึกษาถึงสภาพตลาดของท้ง 10 ประเทศในอาเซียน และการเตรียมมาตรการท้งในเชิงรุกและเชิงรับ
ั
ั
ั
ี
สำาหรับการเปิดเสรีดังกล่าวด้วย
ี
ี
เหตุการณ์และความเปล่ยนแปลงในรอบปีท่ผ่านมามีผลต่อธุรกิจประกันวินาศภัยในหลายด้าน อาทิ บริษัทประกันวินาศภัย
ถือเป็นสถาบันการเงินจะต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินและการต่อต้านการสนับสนุนการเงิน
แก่การก่อการร้าย (ANTI-MONEY LAUNDERING AND COMBATING THE FINANCING OF TERRORISM: AML/CFT) รวมท้ง
ั
กฎกระทรวงเพื่อให้สอดคล้องมาตรการทางการเงินเกี่ยวกับการฟอกเงิน (Financial Action Task Force on Money Laundering) ซึ่งเป็น
ั
มาตรฐานของหลักสากล และเหตุการณ์มหาอุทกภัยเม่อปลายปี 2554 คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติการจัดต้ง “กองทุนส่งเสริมการประกันภัยพิบัติ”
ื
เพ่อช่วยเหลือประชาชนและผู้ประกอบการให้ได้รับความคุ้มครองทรัพย์สิน กิจการ และสามารถเข้าถึงความคุ้มครองภัยพิบัติได้อย่างท่วถึง
ั
ื
ี
ในอัตราเบ้ยประกันภัยท่เหมาะสม และช่วยเหลือบริษัทประกันภัยในการเอาประกันภัยต่อในจำานวนท่เพียงพอต่อความต้องการ (Capacity)
ี
ี
ี
ั
ื
ี
ั
่
และในอัตราเบ้ยประกันภัยท่ตำาสุด ท้งน้ เพ่อสร้างความม่นใจให้แก่นักลงทุนต่างชาติ และผู้ประกอบการต่างๆ ยังคงดำาเนินกิจการต่อไปใน
ี
ประเทศไทย โดยมีบริษัทประกันวินาศภัยเข้าร่วมรับประกันภัยจำานวน 54 บริษัท และในขณะเดียวกันทางสมาคมฯ ได้ร่วมมือกับสำานักงาน
พัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA) ในการดำาเนินโครงการพัฒนาต้นแบบแผนท ่ ี
และแบบจำาลองการประเมินพื้นที่เสี่ยงภัยจากนาท่วมเพื่อการรับประกันวินาศภัย (ระยะที่ 2) โดย
้
ำ
การขยายพ้นท่การประเมินความเส่ยงจากเดิมครอบคลุม 16 จังหวัดในแถบลุ่มนาเจ้าพระยาและ
ี
ื
ำ
้
ี
้
ลุ่มนาท่าจีน ให้ครอบคลุมทุกจังหวัดทั่วทั้งประเทศ
ำ
ี
ท้งน้ สมาคมประกันวินาศภัยไทย ได้มีการปรับปรุงและพัฒนารูปแบบของกรมธรรม์
ั
ุ
ประกันภัยประเภทต่างๆ ให้เกิดความทันสมัยต่อสภาพสังคมในปัจจบันและตอบสนองต่อความ
ิ
ั
่
ั
ิ
ั
ั
ิ
ิ
์
ั
ตองการของผเอาประกนภย เชน กรมธรรมประกนภยความรบผดของผใหบรการโลจสตกส ์
ู
้
้
ู
้
้
กรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดตามกฎหมายต่อบุคคลภายนอก กรมธรรม์ประกันความเส่ยงภัย
ี
ำ
ั
ั
่
ิ
ั
็
์
ี
์
ทรพยสน และกรมธรรมประกนภยธรกจหยดชะงกสาหรบความเสยงภยทรพยสน เปนต้น และ
ั
ิ
์
ั
ั
ุ
ั
ุ
ิ
ได้ร่วมกับกรมสรรพากรในการแก้ไขปัญหาทางด้านภาษีของการควบรวมธุรกิจประกันวินาศภัย
ี
โดยจะยกเว้นให้บริษัทท่จะควบรวมกิจการ ไม่ต้องนาเงินสารองเพ่อการเส่ยงภัยมาคานวณเพ่อเสีย
ำ
ื
ี
ื
ำ
ำ
ำ
ี
ื
ภาษีเงินได้ทันทีท่เลิกกิจการ เพ่อสนับสนุนการควบรวมกิจการประเด็นเงินสารองของสถาบัน
การเงินและกิจการประกันภัย
ท้ายนี้ ผมขอขอบคุณหน่วยงานต่างๆ ทั้งในส่วนของภาครัฐและภาคเอกชน บริษัทสมาชิก
ทุกบริษัทท่ให้ความช่วยเหลือและความร่วมมือในการดาเนินกิจกรรมต่างๆ เป็นไปด้วยความ
ำ
ี
เรียบร้อยและสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ขอขอบคุณคณะกรรมการบริหารสมาคมฯ ทุกๆ ท่านและ
ำ
ำ
พนักงานของสมาคมฯ ทุกคนท่ได้ร่วมกันปฏิบัติงานอย่างเต็มท่เป็นผลให้สมาคมฯ ประสบผลสาเร็จ
ี
ี
และได้รับการยอมรับ ตลอดจนสร้างความเชื่อมั่นเคียงคู่กับสังคมตลอดมา
ขอขอบคุณ
(นายจีรพันธ์ อัศวะธนกุล)
นายกสมาคมประกันวินาศภัยไทย
สมาคมประกันวินาศภัยไทย | Thai General Insurance Association 3