Page 28 - InsuranceJournal106
P. 28

รอบร้ประกันภัย
                ู


                                                                                          ี
             หรือกองทุนสงเคราะห์โรงเรียนเอกชนแล้ว) ตามข้อ 2(55)    5. ค่าซ้ออาคาร อาคารพร้อมท่ดิน หรือห้องชุดใน
                                                                    ื
             ของกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509) ประกอบกับ     อาคารชุด เพื่อเป็นที่อยู่อาศัย
             ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 171)      ผู้มีเงินได้ได้รับยกเว้นค่าซื้ออาคารดังกล่าว ตามท  ี  ่
             และต้องมีหลักฐานจากกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพที่แสดง จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 300,000 บาท สำหรับค่าซื้ออาคาร
             ได้ว่า มีการจ่ายเงินเข้ากองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ ตาม ดังกล่าว ที่มีการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ ในระหว่าง

             ประกาศกรมสรรพากร เรื่อง หลักฐานการจ่ายเงินเข้ากองทุน    วันที่ 1 มกราคม ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และต้องมี

             รวมเพื่อการเลี้ยงชีพ เพื่อการยกเว้นภาษีเงินได้สำหรับเงินได้  หนังสือรับรองจากผู้ขายที่พิสูจน์ได้ว่า มีการจ่ายเป็นค่าซื้อ

             เท่าที่ได้จ่ายเป็นค่าซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวมเพื่อการ  อสังหาริมทรัพย์ ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 271 (พ.ศ. 2552)
             เลี้ยงชีพ ลงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552       ประกอบกับประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษี

             4.  ค่าซ้อหน่วยลงทุนใน/กองทุนรวมห้นระยะยาว   เงินได้ (ฉบับที่ 178)

                    ื
                                                 ุ
               (LTF)                                          6. เงินสมทบกองทุนประกันสังคม
                 ผู้มีเงินได้ได้รับยกเว้นค่าซื้อหน่วยลงทุนดังกล่าวได้        ผู้มีเงินได้สามารถหักลดหย่อนได้ ตามท่จายจริง
                                                                                                      ่
                                                                                                    ี
             ไม่เกินร้อยละ 15 ของเงินได้พึงประเมินท่ได้รับในป   ไม่เกิน 7,200 บาท ตามกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม
                                                  ี
                                                           ี

             ภาษีนั้น แต่ไม่เกิน 500,000 บาท ตามข้อ 2(66) ของ  ตามมาตรา 47(1)(ฌ) แห่งประมวลรัษฎากร
             กฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509) ประกอบกับประกาศ   7.  การคำนวณภาษีที่ต้องเสีย
             อธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 169)    กรณีผู้มีเงินได้มีเงินได้พึงประเมิน ตามมาตรา 40(2)-(8)
             และต้องมีหนังสือรับรองการซื้อหน่วยลงทุนดังกล่าวจาก    แห่งประมวลรัษฎากร ต้งแต่ 60,000 บาท ข้นไป คูณด้วย
                                                                                ั
                                                                                                ึ

                                                                                              ี
                                                                                                       ั
             บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวมที่แสดงได้ว่า มีการจ่าย  อัตราร้อยละ  0.5  หากมีเงินภาษีท่ต้องเสียท้งส้น
                                                                                                          ิ

             เงินเข้ากองทุนรวมหุ้นระยะยาว ตามประกาศกรมสรรพากร   จำนวนไม่เกิน 5,000 บาท ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียภาษี

             เรื่อง หนังสือรับรองการซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวมหุ้น  เงินได้บุคคลธรรมดา ตามมาตรา 48(2) แห่งประมวล
             ระยะยาวเพื่อการยกเว้นเพื่อการยกเว้นภาษีเงินได้สำหรับ  รัษฎากร ตามพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 480) พ.ศ. 2552

             เงินได้เท่าที่ได้จ่ายเป็นค่าซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวม   ตัวอย่าง การคำนวณภาษีที่ต้องเสีย ตามคำชี้แจงกรม
             หุ้นระยะยาว ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาด  สรรพากร เรื่อง การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ตาม

             หลักทรัพย์หุ้นระยะยาว ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ มาตรา 48(2) แห่งประมวลรัษฎากร สำหรับเงินได้พึงประเมิน
             และตลาดหลักทรัพย์ ลงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552   ที่ได้รับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2552 เป็นต้นไป ตามพระราช-
                                                              กฤษฎีกา (ฉบับที่ 480) มีดังนี้


             ตัวอย่างที่ 1  ในปีภาษี 2552 นาย ก. เป็นผู้มีเงินได้จากการขายของ ซึ่งเป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(8) แห่งประมวลรัษฎากร จำนวนทั้งสิ้น
             800,000 บาท
             การคำนวณภาษีที่ต้องเสีย
                  วิธีที่ 1 เงินได้พึงประเมินหักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อนต่างๆ คูณด้วยอัตราภาษีเงินได้ หรือเรียกว่า อัตราก้าวหน้า ตามมาตรา 48(1) แห่ง
             ประมวลรัษฎากร
                        เงินได้พึงประเมิน                                                      800,000   บาท
                        หัก ค่าใช้จ่ายเหมาในอัตราร้อยละ 80                                     640,000   บาท
                        หัก ลดหย่อนสำหรับผู้มีเงินได้                                                       30,000   บาท
                        คงเหลือเงินได้สุทธิ                                                                                        130,000   บาท
                        หัก เงินได้สุทธิ 150,000 บาทแรก (ได้รับยกเว้นภาษี)                                    150,000   บาท
                        คงเหลือเงินได้สุทธิที่ต้องคำนวณภาษี                                                                  -   บาท
                        มีภาษีต้องเสียจำนวน (ในอัตราร้อยละ 10)                                                            -    บาท
                  วิธีที่ 2 เงินได้พึงประเมินคูณด้วยอัตราร้อยละ 0.5 หรือเรียกว่า พันละห้า ตามมาตรา 48(2) แห่งประมวลรัษฎากร
                        เงินได้พึงประเมิน                                                      800,000   บาท
                        คูณอัตราภาษีร้อยละ 0.5 คิดเป็นภาษีที่ต้องเสียจำนวน                       4,000     บาท
                        ดังนั้น ในปีภาษี 2552 นาย ก. ได้รับยกเว้นภาษีที่คำนวณได้ตามวิธีที่ 2 และไม่มีภาษีที่คำนวณได้ตามวิธีที่ 1 จึงไม่ต้องเสียภาษี
             เงินได้บุคคลธรรมดา



     26     วารสารประกันภัย
            มกราคม  -  มีนาคม  2553
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33