Page 35 - InsuranceJournal113
P. 35
ศัพท์ฮิต... ติดหูน�้าท่วมใหญ่ ปี 2554
3. บิêกแบ็ก เป็นศัพท์ใหม่อีกเช่น
กันที่คนไทยได้ยินในยุคนี้ พ.ศ. นี้ “บิêก
แบ็ก” คือ กระสอบทรายยักษ์ ขนาด
ความกว้างถึง 1 เมตร ยาว 1 เมตร
สูงเมตรครึ่ง ซึ่ง ศปภ. สั่งท�าพิเศษเพื่อ
วางท�าเป็นก�าแพงก้นน้าไม่ให้ไหลทะลัก
�
ั
กรุงเทพมหานครชั้นในนั่นเอง ประหนึ่ง
ว่าบêกแบ็กคือความหวังของคนกรุงเทพฯ
ิ
�
กลับกันก็เป็นความชอกช้าของคนท่อยู่
ี
ื
หลังคันบêกแบ็ก เช่อกันว่าผลจากการวาง
ิ
2. เอำอยู่ เป็นวลียอดฮิตไปเลย บิêกแบ็กนั้นช่วยชะลอน�้าไม่ให้ท่วมกรุงมากไปกว่าเก่า และผลจากการวางบิêกแบ็กนี้
ส�าหรับค�าว่า “เอาอยู่” ค�าๆ นี้ต้นตอมา เองท�าให้ประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อนพากันประท้วงให้รื้อออก กลายเป็นกรณี
ี
จากการให้สัมภาษณ์ของนายกรัฐมนตร พิพาทในหลายพื้นที่ที่ผ่านมา
ิ
ย่งลักษณ์ ชินวัตร และทีมงานของรัฐบาลท ่ ี
ี
เก่ยวกับการดูแลเร่องน้าท่วม ประชาชนไม ่ 4. น้องน�้ำ เป็นศัพท์ที่เรียกแทน
�
ื
ต้องวิตกกงวล สามารถควบคุมสถานการณ์ น้าท่วมและก�าลังลุกคืบไปยังพ้นท่อ่น บ้าง
ั
ี
ื
�
ื
น้าได้ “เอาอยู่” แน่นอน ซ่งเพียงข้ามวัน ก็เปรียบเปรยเป็นเร่องเป็นราว จดหมาย
ึ
�
ื
�
ั
เท่าน้นค�าว่า “เอาอยู่” กลายเป็นน้าท่วม จากน้องน้าถึงพ่กรุง ค�าต่อว่าต่อขานของ
ี
�
เกือบมิดหัว กระทั่งค�านี้กลายเป็นค�าล้อ น้องน้ากับน้องทราย กลายเป็นเร่องข�าข�า
ื
�
เลียนไปทั่วประเทศ รับสถานการณ์น�้าท่วมกันไป
ึ
ั
ั
�
5. คันก้นน้ำพัง (อีกแล้ว) คันก้นน้าท่เราๆ รู้จักน้นมี 3 ประเภทด้วยกัน หน่ง
ี
�
ั
คือ คันกั้นของ กทม. ที่ได้มาตรฐานยากที่จะแตกนอกจากน�้าล้นเท่านั้น สองคือ คัน
กั้นของเอกชนที่สร้างมานานนับ 10 ปี แต่ไม่มีคุณภาพอยู่แทรกกลางระหว่างของ
กทม. สามคือ คันกั้นน�้าแบบเฉพาะกิจ สร้างรายวันเพื่อยับยั้งน�้าไม่ให้ไหลผ่าน และ
ช่วงสถานการณ์น�้าไม่ปกตินี่เอง เราจะได้ยินค�าว่าคันกั้นน�้าพังเป็นข่าวรายวันเลยที
เดียว
35