Page 25 - InsuranceJournal122
P. 25
รอบรู้ประกันภัย
การทดสอบภาวะวิกฤต (Stress Test)
กับธุรกิจประกันวินาศภัย
การทดสอบภาวะวิกฤตหรือ Stress Test ได้มีการกล่าวถึงใน Insurance Core Principle: ICP ของ
ทาง International Association of Insurance Supervisors: IAIS โดยถูกบรรจุอยู่ใน ICP 16 Enterprise
ึ
ี
Risk Management for Solvency Purposes ซ่งได้กล่าวถึงมาตรฐานกรอบการบริหารความเส่ยงของ
องค์การของ IAIS ไว้ ดังรูปข้างล่าง
Enterprise Risk Management Framework
Risk Management Risk Tolerance statement
Policy
Feedback Loop
Own Risk and Solvency Assessment (ORSA)
Feedback Loop
Economic and Regulatory
Continuity Analysis Capital
Role of supervision
ี
จากกรอบการบริหารความเส่ยงข้างต้นจะประกอบไปด้วย สาหรับการทดสอบภาวะวิกฤตของธุรกิจประกันภัย ทาง
�
ส่วนประกอบที่ส�าคัญ (key features) ต่างๆ เช่น นโยบายการบริหาร ส�านักงาน คปภ. มีเป้าหมายเพื่อพิจารณาถึงความเป็นไปได้ทั้งหมด
ี
ี
ี
ี
ความเส่ยง (Risk Management Policy) ระดับความเส่ยงท่ยอมรับได้ ท่อาจส่งผลต่อฐานะทางการเงินและเงินกองทุนของบริษัทประกันภัย
(Risk Tolerance statement) การให้ข้อมูลย้อนกลับและการ ท้งในปัจจุบันและในอนาคต ซ่งการทดสอบภาวะวิกฤตเป็นเคร่องมือ
ึ
ื
ั
ั
ตอบสนองความเสี่ยง (Risk responsiveness and feedback loop) การจัดการความเส่ยงท่มีความจ�าเป็นท้งต่อบริษัทประกันภัยเองและ
ี
ี
�
�
การประเมินความเพียงพอของเงินกองทุนและความเสี่ยงของตนเอง ต่อหน่วยงานกากับดูแลด้วย สาหรับบริษัทประกันชีวิตได้มีการ
(Own Risk and Solvency Assessment: ORSA) เงินกองทุนตาม ทดสอบภาวะวิกฤตคร้งแรกเป็นท่เรียบร้อยแล้ว ในส่วนบริษัทประกัน
ี
ั
�
กฎหมายและเงินกองทุนทางเศรษฐกิจ (Economic and Regulatory วินาศภัยกาลังอยู่ในระหว่างการดาเนินการกาหนดกรอบการทดสอบ
�
�
Capital) และการวิเคราะห์ความต่อเน่อง (Continuity Analysis) ท้งน ้ ี และระยะเวลาที่เริ่มทดสอบ โดยในเบื้องต้นทางส�านักงาน คปภ. ได้
ั
ื
การทดสอบภาวะวิกฤตได้ถูกกล่าวถึงใน Continuity Analysis ซ่งการ มีการศึกษาแนวทางการทดสอบภาวะวิกฤตของหน่วยงานกากับดูแล
ึ
�
�
ดาเนินการดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพ่อวิเคราะห์ถึงความสามารถของ ของประเทศต่างๆ เช่น Australian Prudential Regulation Authority
ื
ื
ั
�
บริษัทประกันภัยท้งการดาเนินธุรกิจได้อย่างต่อเน่อง การดารง (APRA) Office of the Superintendent of Financial Institutions
�
เงินกองทุน ฐานะทางการเงินของบริษัทและการบริหารจัดการความ (OSFI) ของประเทศแคนาดา The Financial Services Authority
ี
�
เส่ยงต่างๆ ได้อย่างดีภายใต้สภาวะวิกฤตต่างๆ ท่ได้มีการจาลอง (FSA) ของประเทศอังกฤษ Bank Negara Malaysia (BNM) และ
ี
ู
ึ
่
ื
�
ข้นมา โดยการออกแบบการทดสอบภาวะวิกฤตดังกล่าวทาง IAIS Monetary Authority of Singapore (MAS) เพอนามาเป็นข้อมล
�
ั
กาหนดว่าควรจะต้องให้มความสอดคล้องและเหมาะสมกบสภาพ สาหรบการกาหนดแนวทางการทดสอบภาวะวิกฤตสาหรบ
ั
�
ี
�
ั
�
ของบริษัทประกันภัยแต่ละบริษัทเอง (Appropriate to the nature, ประเทศไทย
scale and complexity)
วารสารประกันภัย มกราคม-มีนาคม 2557 25