Page 25 - InsuranceJournal123
P. 25
รอบรู้ประกันภัย
การพัฒนากรอบการด�ารงเงินกองทุน
ตามระดับความเสี่ยง ระยะที่ 2 การท�า Market Testing
ว่าที่ร้อยตรีรัชชัย กิจกุลอนันตเอก
เจ้าหน้าที่ช�านาญการ ฝ่ายวิชาการทั่วไป
สมาคมประกันวินาศภัยไทย
่
ื
ี
ื
สืบเน่องจากวารสารประกันภัย ฉบับท่ 120 คอลัมน์รอบรู้ประกันภัย ได้ลงบทความ เร่อง “การพัฒนากรอบการดารงเงินกองทุนตามระดับความเสยง
�
ี
ระยะที่ 2” ที่เขียนโดย ดร. ปิยวดี โขวิฑูรกิจ ดังนั้น ในฉบับนี้จะขอกล่าวถึงความคืบหน้าการด�าเนินการตามโครงการดังกล่าว ซึ่งขณะนี้อยู่ในระยะที่ 3 คือ
การท�า Market Testing โดยเมื่อวันพุธที่ 9 เมษายน 2557 ที่ผ่านมา ทางส�านักงาน คปภ. ได้จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ (Workshop) ขึ้น ณ โรงแรม Eastin
Grand Hotel Sathorn Bangkok โดยเชิญผู้แทนของบริษัทประกันวินาศภัยเข้ารับการอบรมการท�า Market Test ของ RBC Phase II ซึ่งขั้นตอนนี้มี
ี
ี
�
วัตถุประสงค์เพ่อให้บริษัทประกันวินาศภัยประเมินถึงผลกระทบที่จะมีผลต่อการเปล่ยนแปลงกรอบการดารงเงินกองทุนตามระดับความเส่ยง (RBC Framework)
ื
�
�
และทางสานักงาน คปภ. เองจะนาเอาผลจากการทดสอบดังกล่าวมาใช้เป็นข้อมูลเพ่อกาหนดกรอบการดารงเงินกองทุนตามระดับความเส่ยงระยะท่ 2 ต่อไป
�
�
ื
ี
ี
ในการทา Market Testing ของกรอบการดารงเงินกองทุนตามระดับความเส่ยงระยะท่ 2 ได้มีการเปล่ยนแปลงแนวทางและค่าพารามิเตอร์
ี
ี
�
ี
�
บางส่วนที่ต่างไปจากกรอบเดิมที่ใช้อยู่ก่อน มีดังนี้
1. ระดับเป้าหมายที่เพียงพอ (target sufficiency levels)
กรอบ RBC ปัจจุบัน กรอบ RBC Phase II ช่วง Market Test
ก�าหนดระดับเป้าหมายที่เพียงพอส�าหรับการทดสอบไว้ 5 ระดับ ดังนี้
o 85% 1-year value-at-risk (“VaR”)
o 90% 1-year VaR
ก�าหนดระดับเป้าหมายที่เพียงพอไว้ที่ o 95% 1-year VaR
75% 1-year value at risk o 97.5 1-year VaR
o 99.5 1-year VaR
ั
�
ี
�
ั
ี
�
ระดับเป้าหมายท่เพียงพอดังกล่าวข้างต้น จะถูกนาไปใช้ในการคานวณสาหรับความเส่ยงการประกันภัยระยะส้น (ท้ง Premium
ี
ี
Claim และ Catastrophe) โดยทดสอบท้ง URR และ UPR ความเส่ยงด้านตลาด ความเส่ยงด้านเครดิต ความเสี่ยงด้าน
ั
ั
การประกันภัยต่อ ความเส่ยงด้านการกระจุกตัว ความเส่ยงด้านปฏิบัติการ และการกระจายความเส่ยง ท้งน้ ยิ่งระดับเป้าหมาย
ี
ี
ี
ี
�
ี
ท่เพียงพอสูงเท่าไหร่ จะมีผลทาให้อัตราความเพียงพอของเงินกองทุน (Capital Adequacy Ratio) ลดลงตามเท่านั้น
2. การค�านวณ Premium Reserve และ Premium Risk Charge บนฐาน URR (Unexpired Risk Reserve) และ UPR (Unearned Premium Reserve)
กรอบ RBC ปัจจุบันใช้ URR เป็นฐานในการค�านวณ Premium Reserve และ Premium Risk Charge แต่กรอบ RBC Phase II ช่วง Market
Test ได้มีการน�าเอาทั้ง URR และ UPR มาเป็นฐานในการค�านวณดังแสดงในตารางข้างล่าง
สูตรในการค�านวณ short-term reserves and risk charges
กรอบ RBC ปัจจุบัน กรอบ RBC Phase II ช่วง Market Test
Short-term premium reserve calculation
Max{UPR, URR + URR x PAD @75%} Max{UPR, URR + UPR x PAD @75%}
premium
premium
Max{UPR, URR + URR x PAD @75%}
premium
Short-term premium risk charge calculation
Max{0, Max{0,
URR x (PAD @95% - PAD @75%) UPR or URR x (PAD @95% - PAD @75%)
premium
premium
premium
premium
- Max{0, UPR – Premium reserve}} - Max{0, UPR – Premium reserve}}
วารสารประกันภัย เดือนเมษายน-มิถุนายน 2557 25