Page 21 - InsuranceJournal126
P. 21
วิชาการ IPRB
การประมาณผลกระทบจากการปรับเพิ่ม
จํานวนเงินคาเสียหายเบื้องตน
ของการประกันภัยรถยนตภาคบังคับ
นายกนต์ธร ชัยนิวัฒนา
นายศักดิ์ชัย เจริญศิลป
ส�านักงานอัตราเบี้ยประกันวินาศภัย (IPRB)
ตามที่กฎกระทรวงก�าหนดความเสียหายที่จะให้ได้รับค่าเสียหายเบื้องต้น จ�านวนเงินค่าเสียหายเบื้องต้น การร้องขอรับ
และการจ่ายค่าเสียหายเบื้องต้น (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2557 ได้มีผลบังคับใช้แล้วตั้งแต่วันที่ 26 ธันวาคม 2557 นั้น
ิ่
ี่
สาระส�าคัญของกฎกระทรวงฉบับดังกล่าวเป็นการปรับเพมจ�านวนเงินค่าเสียหายเบื้องต้นส�าหรับค่าใช้จ่ายเกยวกับการรักษา
พยาบาลของผู้ประสบภัยจากรถ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 จากเดิมที่ก�าหนดไว้จ�านวนเงินไม่เกิน
15,000 บาทต่อคน เป็นจ�านวนเงินไม่เกิน 30,000 บาทต่อคน และเมื่อรวมกับความเสียหายต่อชีวิตหรือทุพพลภาพถาวร หรือสูญเสีย
อวัยวะ ที่ได้รับค่าสินไหมทดแทน 35,000 บาทต่อคน รวมแล้วจะมีวงเงินความคุ้มครองค่าเสียหายเบื้องต้นสูงสุด คนละไม่เกิน 65,000
ิ
ึ
บาท ทั้งนี้ ไม่มีการปรับเพมเบี้ยประกันภัยแต่อย่างใด ซ่งจ�านวนเงินความคุ้มครองที่ปรับเพ่มขนจะเป็นประโยชน์ต่อประชาชนผู้ประสบ
ึ้
ิ่
ภัยจากรถ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่ประสบภัยจากรถที่ไม่มีการท�าประกันภัยไว้ หรือถูกชนแล้วหนี โดยผู้ประสบภัยจะได้รับ
ความคุ้มครองค่าเสียหายเบื้องต้นจากกองทุนทดแทนผู้ประสบภัย
ั้
ิ่
ิ่
การปรับเพมวงเงินความคุ้มครอง โดยไม่มีการปรับเพมอัตราเบี้ยประกันภัยดังข้างต้นนน ส�านักงานอัตราเบี้ยประกันวินาศภัย
ได้ใช้ฐานข้อมูลอุตสาหกรรมของส�านักงานฯ มาวิเคราะห์และประมาณการผลกระทบต่ออัตราความเสียหาย (Loss Ratio) โดยการใช้
กราฟ (Graphical Approach) และแบ่งผลการวิเคราะห์ออกเป็น 2 ประเภท คือ การประสบภัยจากรถจักรยานยนต์ (Motorcycle)
และการประสบภัยจากรถที่ไม่ใช่รถจักรยานยนต์ (Non-Motorcycle) ซึ่งได้แก่ รถสามล้อเครื่อง รถสกายแลป รถยนต์นั่ง รถยนต์
โดยสาร รถยนต์บรรทุก รถยนต์บรรทุกน�้ามันเชื้อเพลิง แก๊ส หรือกรด หัวรถลากจูง รถพ่วง รถยนต์ป้ายแดง (การค้ารถยนต์) รถยนต์
ที่ใช้ในการเกษตร รถยนต์ประเภทอื่น ๆ รายละเอียดการวิเคราะห์เป็นดังนี้
วารสารประกันภัย เดือนมกราคม-มีนาคม 2558 21