Page 26 - InsuranceJournal139
P. 26
Risk Intelligence
5. การระบุปัจจัยที่จะท�าให้ผลลัพธ์แตกต่างไปจากสิ่งที่คาดการณ์ไว้และการบริหารความเสี่ยง
�
ี
ั
้
ี
ในการนาหมูป่าออกจากถาอย่างปลอดภัยน้น มีปัจจัยแวดล้อมท่เปล่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ซ่งปัจจัยเหล่าน้บางปัจจัยอาจเป็นอุปสรรค
ี
ึ
�
้
�
้
ี
�
�
ี
้
�
ต่อการบรรลุเป้าหมายได้ อาทิ สภาพภายในถาท่มีความแคบและมีนาท่วมลึกในบางช่วง ระดับออกซิเจนในถาท่ลดลง ความรู้ความชานาญในการ
้
�
�
้
�
ี
�
ปฏิบัติงานในถาท่จากัดของทีมไทย สภาพร่างกายของทีมหมูป่า ความสามารถในการดานาของหมูป่า อุปสรรคด้านภาษาและอายุของหมูป่า การ
่
ึ
ี
�
้
่
ู
ิ
้
ึ
ี
่
่
ั
�
ึ
่
ั
ิ
ั
่
ี
์
็
ุ
ควบคมตนเองของหมปาหากเกด panic ขนมา นาลกททศนวสยแทบจะมองไมเหนอะไรเลย พยากรณอากาศทคาดวาจะมฝนตกหนกซงอาจทาให ้
การล�าเลียงหมูป่าออกมามีความเสี่ยงสูงเพิ่มขึ้นหรืออาจด�าเนินการไม่ได้
อย่างไรก็ตาม ทีมปฏิบัติภารกิจได้บริหารจัดการเพ่อเพ่มโอกาสในการประสบความสาเร็จ ไม่ว่าจะเป็นการติดต่อขอความช่วยเหลือจาก
�
ิ
ื
ี
ี
ผู้เช่ยวชาญการดานาในถาจากอังกฤษซ่งมีประสบการณ์ด้านน้มากว่า 30 ปี ทีมช่วยเหลือนานาชาติ รวมถึงแพทย์ท่มีความรู้ความเช่ยวชาญในการ
ี
ึ
้
้
�
�
ี
�
้
ั
�
ื
ิ
�
ดานาและการดมยาจากออสเตรเลีย รวมถึงการเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและจิตอาสาท่วโลกเข้ามามีส่วนร่วมในการทางานเพ่อเพ่มโอกาสใน
�
การน�าหมูป่ากลับบ้าน ไม่ว่าจะเป็นทีมขุดเจาะน�้าบาดาล ทีมสูบน�้าซิ่งพญานาค ทีมวิศวกรส�ารวจจากบริษัทน�้ามันและบริษัทก่อสร้าง ทีมปีนผา
ไร่เลย์ ทีมด�าน�้าจากภาคเอกชน และทีมอื่น ๆ ทั้งยังได้รับการสนับสนุนอุปกรณ์ด�าน�้า วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือต่าง ๆ อีกเป็นจ�านวนมาก
6. การทบทวนสมมุติฐานและปัจจัยแวดล้อม
จากข้อมูลทั้งหมด น�ามาสู่การก�าหนดแผนการช่วยเหลือรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งได้ถูกประเมินถึงความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง แต่เดิมนั้น ทีมงาน
�
้
�
ี
ั
ตัดสินใจท่จะให้หมูป่ารอคอยอยู่ภายในถาจนกระท่งหมดหน้าฝน แล้วจึงค่อยนาหมูป่าออกมา อย่างไรก็ตาม ระดับออกซิเจนท่ลดลงอย่างรวดเร็ว
ี
จนใกล้ถึงระดับวิกฤตและการพยากรณ์อากาศที่ระบุว่าพายุฝนก�าลังจะมา อาจส่งผลให้ปริมาณน�้าเพิ่มขึ้นจนเป็นอุปสรรคต่อการอาศัยภายในถ�้า
และการขนส่งเสบียงอาหารและออกซิเจน
ู
้
ื
�
ู
่
ื
ี
�
ื
ี
ด้วยเหตผลดงกล่าว ทมงานจงได้เปลยนแผนและตดสนใจนาหมป่าดาน�าออกมาจากถา เนองจากเป็นทางเลอกเดยวทเหลออย่ ทาง
่
้
ั
ั
ุ
่
ึ
ี
ี
�
ิ
ี
ี
�
เลือกน้มีความเส่ยงสูงมาก ทีมนักดานาชาวอังกฤษได้ให้สัมภาษณ์ภายหลังว่ามีโอกาสสูงมากท่หมูป่าบางคนจะเสียชีวิตและภารกิจน้นับเป็นภารกิจ
�
ี
ี
้
ที่เสี่ยงอันตรายที่สุดเท่าที่เคยมีมาเลยทีเดียว
7. การวัดผลการด�าเนินงานและการบรรลุเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง
้
ในช่วงที่หมูป่ายังอยู่ในถาน้น ทีมงานกู้ภัยมีการจับเวลาท่ใช้ในการฝึกซ้อมในการเคล่อนย้ายหมูป่าจากหน้าถาไปโรงพยาบาล บันทึก
ั
�
�
้
ี
ื
อัตราการระบายน�้าออกจากถ�้าและพื้นที่โดยรอบ รวมถึงข้อมูลอื่น ๆ อีกมากมาย และน�าข้อมูลเหล่านี้มาเปรียบเทียบและวิเคราะห์กันวันต่อวัน
เพื่อให้ทราบว่าการด�าเนินงานของแต่ละทีมนั้นเป็นอย่างไร มีพัฒนาการที่ดีขึ้นหรือแย่ลงหรือไม่ ด้วยเหตุผลอะไร เพื่อที่จะได้มีการปรับเปลี่ยนวิธี
การด�าเนินงานในวันต่อ ๆ ไปให้สามารถบรรลุเป้าหมายที่ก�าหนดไว้ได้
เมื่อผู้ว่าณรงค์ศักดิ์ตัดสินใจที่จะลงมือปฏิบัติการ ทีมนักด�าน�้าได้มีการฝึกกันในสระน�้าซึ่งได้รับการอนุเคราะห์จากโรงเรียนในแถบนั้น มี
การน�าเด็กจริงมาใช้ในการฝึกด้วยเพื่อให้ทีมงานได้ฝึกทักษะในสภาวะแวดล้อมเสมือนจริงให้มากที่สุดเท่าที่เวลาจะเอื้ออ�านวย และวัดพัฒนาการ
ในการฝึกซ้อมตลอด
การวัดผลระหว่างด�าเนินการน�าหมูป่าด�าน�้าออกมาก็ถูกด�าเนินการเป็นระยะ ดังจะเห็นได้จากค�าสัมภาษณ์ของนักด�าน�้าชาวอังกฤษที่มี
การสังเกตจังหวะการหายใจของหมูป่าจากฟองอากาศอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะในช่วง 5-10 นาทีแรก เพ่อสวัสดิภาพของหมูป่าแต่ละคน นอกจาก
ื
นี้ นักด�าน�้าที่เป็นผู้น�าหมูป่าออกมาได้ประเมินเทคนิควิธีการที่ตนใช้อยู่ตลอดระยะเวลาในการน�าหมูป่าด�าน�้าออกมา เนื่องจากในถ�้านั้นมีน�้าเต็ม
้
�
ึ
�
อยู่ถึง 6 ช่วงซ่งมีระยะทางรวมกันกว่า 1 กิโลเมตร ทัศนวิสัยท่แทบจะเป็นศูนย์ก็ทาให้มีความยากลาบากมากในการสังเกตผนังถา เพราะหาก
�
ี
หน้ากากหมูป่ากระแทกกับผนังถ�้าก็จะท�าให้หน้ากากหลุดออกและหมูป่าอาจเสียชีวิตได้
หลังจากภารกิจเสร็จสิ้นวันแรก ท่านผู้ว่าและทีมงานน�าข้อมูลที่เกิดขึ้นมาใช้ปรับแผนงานหลังจบงานในแต่ละวัน และระดมทีมงานมา
�
�
ี
ิ
�
ช่วยเพ่มมากข้น ทาให้ใช้เวลาน้อยลงถึง 2 ช่วโมงในการนาหมูป่าออกมาในวันท่ 2 และใช้เวลาน้อยลงในการเตรียมการสาหรับวันถัดไป และ
ึ
ั
สามารถน�าหมูป่าทั้ง 13 คนออกมาได้อย่างปลอดภัยในที่สุด
26 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 139