Page 16 - InsuranceJournal141
P. 16
วิชาการ IPRB
รูปที่ 2: อัตราความเสียหาย (Loss Ratio) ที่รัฐก�าหนดระดับการประกันภัยต่อ ตามกลุ่มความเสี่ยงของพืช 4 กลุ่ม
ได้แก่ กลุ่มความเสี่ยงสูง กลาง ต�่า และน�าร่อง
หมายเหตุ: 1. (1) High Risk Group : Astringent Persimmon, Sweet Potato Soybean (3 Crops)
(2) Medium Risk Group: Apple, Pear, Sweet Persimmon, Autumn Potato, Onion (12 Crops)
(3) Low Risk Group: Tangerine, Chestnut, Spring Potato, 8 Greenhouse crops, Greenhouse
(4) Pilot Crops : Pear (MPCI), Sweet Persimmon (MPCI), Apple (MPCI), Peach, Grape, Rice (15 Crops)
ื
ื
ื
2. อ้างอิงจากรายงานของคณะกรรมาธิการขับเคล่อนการปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจ สภาขับเคล่อนการปฏิรูปประเทศ เร่อง “การปฏิรูปการประกันภัยภาคการเกษตร”
กรกฎาคม 2559
ท้ายน้ โครงการประกันภัยข้าวถือเป็นตัวอย่างโครงการขนาดใหญ่โครงการหน่งท่ภาคธุรกิจประกันภัยเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการขับ
ี
ึ
ี
ี
�
ี
ี
เคล่อนนโยบายภาครัฐในการดูแลความเส่ยงให้กับเกษตรกรท่เป็นกลุ่มบุคคลสาคัญของประเทศ เป็นเร่องปกติท่ต้องมีการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
ื
ื
หรือการวางวิสัยทัศน์ในระยะยาว เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2561 คณะรัฐมนตรีก็มีมติอนุมัติให้มีการประกันภัยข้าวโพดหลังฤดูท�านาตามโครงการ
สานพลังประชารัฐ เพื่อเป็นมาตรการหนึ่งในการจูงใจให้เกษตรกรมีความยั่งยืนจากกิจกรรมปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในช่วงฤดูนาปรัง ซึ่งก็แสดงให้
เห็นถึงความส�าคัญในการใช้เครื่องมือการประกันภัยเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายรัฐในวงกว้างขึ้น
บรรณานุกรม
1. Mahul, Olivier and Stutley, Charles. 2010. “Government Support to Agricultural Insurance Challenges and Opportunities for
Developing Countries”, World Bank
2. Mahul, Oivier., Verma, Niraj., and Clarke, Daniel J. 2012. “Improving Farmers’ Access to Agricultural Insurance in India” World Bank
16 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 141