Page 11 - InsuranceJournal141
P. 11
วิชาการ IPRB
ถึงแม้จะมีการปรับอัตราเบี้ยประกันภัยตามเขตพื้นที่เสี่ยงเป็น 5 อัตรา ในปี 2556 แล้วก็ตาม อัตราความเสียหายต่อระบบประกันภัย
ื
ี
ั
ี
ื
ื
ยังคงสูงมาก เน่องจากปริมาณพ้นท่เข้าร่วมโครงการฯ มีอยู่น้อย ดังน้น ในปี 2559 เพ่อให้อัตราเบ้ยประกันภัยลดลงในระดับท่เหมาะสม กระทรวง
ี
ี
ี
ื
ี
การคลังจึงได้ปรับเปล่ยนนโยบายให้ลูกค้าสินเช่อท่เพาะปลูกข้าวของ ธ.ก.ส. เข้ามาอยู่ในระบบประกันภัย โดย ธ.ก.ส. ได้อุดหนุนค่าเบ้ย
ประกันภัยทั้งหมดที่นอกเหนือจากที่รัฐให้การอุดหนุน (ตามเกณฑ์ที่ ธ.ก.ส. ก�าหนด) ท�าให้พื้นที่เข้าร่วมโครงการประกันภัยสูงถึง 27,176,735 ไร่
โดยอัตราเบี้ยประกันภัยเป็นอัตราเดียว 100 บาท/ไร่ ทั่วประเทศ และต่อมาในปี 2560 ปรับอัตราเบี้ยประกันภัยลงเป็น 90 บาท/ไร่ ตามล�าดับ
�
ั
ี
ี
ี
อย่างไรก็ดี ในปี 2561 เกษตรกรท่วไปท่ไม่ใช่ลูกค้า ธ.ก.ส. ท่ร่วมจ่ายค่าเบ้ยประกันภัยเองจานวน 36 บาท/ไร่ มีเกษตรกรสมัครใจเข้าร่วม
โครงการฯ อยู่ที่ 694,658 ไร่ (ร้อยละ 2.29 ของพื้นที่เพาะปลูกทั้งหมดของเกษตรกรทั่วไปที่ไม่ใช่ลูกค้า ธ.ก.ส.)
ี
ี
ดังน้น หากมีการปรับเปล่ยนนโยบายการอุดหนุนของรัฐ และให้เกษตรกรมีส่วนร่วมจ่ายค่าเบ้ยประกันภัยของเกษตรกรเพ่มข้น นอกจาก
ิ
ึ
ั
ื
จะส่งผลต่อปริมาณพ้นท่ท่สมัครใจเข้าร่วมโครงการฯ แล้ว ก็อาจจะส่งผลต่อความเส่ยงต่อ portfolio ในระบบประกันภัยอีกด้วย เน่องจากเกษตรกร
ื
ี
ี
ี
ในพื้นที่เสี่ยงต�่าก็จะไม่มีแรงจูงใจที่จะเข้าร่วมโครงการฯ อีกต่อไป ในขณะที่เกษตรกรในเขตพื้นที่เสี่ยงสูงก็ยังคงอยู่ในโครงการฯ ซึ่งก็จะส่งผลให้
ึ
อัตราความเสียหายต่อระบบประกันภัยสูง และเกิดความไม่ย่งยืนในระยะยาว การคงไว้ซงอัตราเบ้ยประกันภัยเท่าเดิม และแบบอัตราเดียวท้ง ั
ั
่
ี
ประเทศ ก็อาจจะท�าไม่ได้ต่อไป
“The greatest danger in times of turbulence is not the turbulence – it is to act with yesterday’s logic.”
– Peter Drucker
วารสารประกันภัย ตุลาคม - ธันวาคม 2561 11