Page 15 - InsuranceJournal141
P. 15

วิชาการ IPRB



                                                                                                    ึ
                                             ี
           ประเด็นท่ 3 ในอนาคตจะมีการเปล่ยนแปลงอย่างไรให้โครงการเกิดการขยายผลในวงกว้างข้น และทาให้
                     ี
                                                                                                            �
           โครงการมีความยั่งยืน
                 จากประเด็นที่ 1 และ 2 ข้างต้น นอกจากจะมีการเปลี่ยนแปลงในด้านการประเมินความเสียหาย และรูปแบบประกันภัยให้ตอบสนอง
          ความต้องการของเกษตรกรให้มากขึ้นในระยะ 1-3 ปีนี้แล้ว การที่จะด�าเนินการการประกันภัยพืชผลให้เป็นรูปธรรม ภาครัฐนอกจากจะต้องเป็น
          ผู้น�าในเรื่องการบูรณาการข้อมูลและความเชี่ยวชาญจากหลากหลายฝ่ายแล้ว ก็ยังต้องให้การอุดหนุนในหลาย ๆ ด้าน ทั้งเรื่องระบบการจัดการ
          และการอุดหนุนค่าเบี้ยประกันภัย ซึ่งไม่ต่างจากประเทศอื่น ไม่ว่าจะเป็นประเทศที่มีระดับรายได้สูง เช่น แคนาดา ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา หรือ
                                                                        ี
                                                         ี
                                              ี
                                                                   ุ
                                                                        ้
                                                          ็
                                                                                                     ี
                                                                                                  ั
                                                                                                           ื
                                                                                                        �
                                                                                           ี
                                                                             ั
                                                                                                  ่
                                                                                                ุ
          ประเทศทมีระดับรายได้ปานกลาง เช่น จีน อินเดย ฟิลิปปินส์ ท่กมีการอุดหนนค่าเบยประกนภัย หากภาครัฐมความม่งมนท่จะนาเคร่องมือ
                 ี
                 ่
                           ื
                                                                                                   ื
                                                                                    ิ
          ประกันภัยมาใช้เป็นเคร่องมือบริหารความเส่ยงให้กับเกษตรกร แทนการให้ความช่วยเหลือเป็นกรณีพเศษเป็นคราว ๆ เม่อเกิดภัยพิบัติแล้ว
                                          ี
          ในระยะปานกลางรัฐควรพิจารณาแนวทางให้มีกลไกการประกันภัยต่อโดยรัฐ เพื่อให้ระบบประกันภัยพืชผลมีความยั่งยืน โดยรัฐเข้ามามีบทบาท
                                                                           ี
                                                                                                               ี
                                                                                                      ึ
          ในการประกันภัยต่อแหล่งสุดท้าย (Reinsurer of Last Resort) เพ่อดูแลเฉพาะความเส่ยงระดับสูงสุด ท่เป็นองค์ประกอบหน่งในอัตราเบ้ย
                                                                                       ี
                                                            ื
          ประกันภัย (Catastrophe Load)
                 ในมุมของการบริหารงานน้น การเข้ามามีบทบาทเป็นผู้รับประกันภัยต่อโดยรัฐน้น มีการดาเนินการในหลายประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา
                                                                                �
                                    ั
                                                                         ั
          แคนาดา สเปน เม็กซิโก จีน อินเดีย และเกาหลี ในที่นี้จะยกตัวอย่างกลไกการประกันภัยต่อของรัฐในประเทศเกาหลี ซึ่งมีกฎหมายรองรับโดย
                                                                                                ี
          เฉพาะ คือ Agricultural and Fishery Disaster Insurance Act 2011 และมีการกาหนดอัตราความเสียหาย (Loss Ratio) ท่จะเข้าสู่การประกันภัย
                                                                   �
          ต่อโดยรัฐอย่างชัดเจน ส�าหรับพืชแต่ละประเภท โดยอัตราความเสียหายก�าหนดไว้ที่ร้อยละ 150 ถึงร้อยละ 180 ขึ้นกับกลุ่มความเสี่ยงของพืชผล
                           �
                                                                         �
                                                 ี
                                     ี
             ี
                                                                ี
                                                                  ึ
          (รูปท่ 1 และ 2) และรัฐกาหนดอัตราเบ้ยประกันภัยต่อท่ร้อยละ 6.25 โดยเฉล่ย ซ่งขณะน้สานักงานคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบ
                                                                                          �
                                                                        ี
          ธุรกิจประกันภัย ก็ได้เข้ามาเป็นผู้น�าในการยกร่างกฎหมายที่จ�าเป็นต่อการพัฒนาการประกันภัยพืชผลของไทยด้วย
                                           รูปที่ 1: กลไกการประกันภัยต่อของรัฐ ในประเทศเกาหลี





















                                                                        วารสารประกันภัย  ตุลาคม - ธันวาคม  2561  15
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20