Page 10 - InsuranceJournal141
P. 10
วิชาการ IPRB
ความเชื่อ ความจริง และหนทางอนาคต
ของการพัฒนาประกันภัยข้าวในประเทศไทย
: ตอนที่ 2 (จบ)
โดย ดร. จุฑาทอง จารุมิลินท
ี
ี
ั
ี
ี
�
ในวารสารประกันภัยฉบับท่แล้ว ผู้เขียนได้กล่าวถึงบันทึกข้อคิดเห็นในประเด็นท่สาคัญท่ได้จากประสบการณ์แลกเปล่ยนความรู้ท้งใน
วงประชุมคณะท�างาน หรือวงการศึกษาวิจัยการพัฒนาการประกันภัยพืชผลไปแล้ว 1 ประเด็น นั่นคือ “ในประเทศไทยภาครัฐสามารถถ่ายโอน
ี
ความเส่ยงภัยธรรมชาติของเกษตรกรมายังผู้รับประกันภัยเอกชนได้ขณะน้เลยหรือไม่” สาหรับฉบับน้ผู้เขียนจะขอกล่าวต่อในประเด็นท่เหลือกัน...
ี
ี
�
ี
ี
ี
ประเด็นท่ 2 การปรับเปล่ยนนโยบายการอุดหนุนของรัฐ และการมีส่วนร่วมจ่ายค่าเบ้ยประกันภัยของเกษตรกร
ี
ให้เพิ่มขึ้น จะยังคงไว้ซึ่งรูปแบบประกันภัยเดิมต่อไปได้หรือไม่
ั
ิ
ตามเจตนารมณ์ของรัฐต้งแต่เร่มโครงการประกันภัยข้าว เป็นการประกันภัยภาคสมัครใจของเกษตรกร โดยมี ธ.ก.ส. เป็นตัวกลางระหว่าง
เกษตรกร และผู้รับประกันภัย ในปี 2554 มีพื้นที่ปลูกข้าวเข้าร่วมโครงการประกันภัย 1 ล้านไร่ และลดลงเรื่อย ๆ ในปี 2555-2557 โดยมาเพิ่ม
สูงข้นเป็น 27.2 ล้านไร่ในปี 2559 สาเหตุเพราะนโยบายการอุดหนุนค่าเบ้ยประกันภัยของ ธ.ก.ส. ท่ให้กับลูกค้าสินเช่อการเพาะปลูกข้าวท ี ่
ื
ึ
ี
ี
เปลี่ยนแปลงไปจากการอุดหนุนค่าเบี้ยประกันภัย 10 บาทต่อไร่ เป็นอุดหนุนที่เหลือทั้งหมดจากที่รัฐช่วยเหลืออยู่แล้ว (ตารางที่ 1)
ี
ี
ิ
ั
จากสถิติต้งแต่เร่มต้นโครงการประกันภัยข้าวนาปี ในปี 2554 ท่อัตราเบ้ยประกันภัยเป็นอัตราเดียว และเกษตรกรมีส่วนร่วมจ่ายค่าเบ้ย
ี
ประกันภัย 50 บาท/ไร่ (ธ.ก.ส. อุดหนุนค่าเบี้ยประกันภัยให้ลูกค้าสินเชื่อ ธ.ก.ส.อีก 10 บาท/ไร่) และที่เหลือรัฐอุดหนุน 69.47 บาท/ไร่ จากอัตรา
เบี้ยประกันภัย 129.47 บาท/ไร่ รวมอากรแสตมป์และภาษีมูลค่าเพิ่ม มีพื้นที่เอาประกันภัยทั้งหมด 1,059,131 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 1.73 ของพื้นที่
ึ
ั
ี
เพาะปลูกท่วประเทศ ซ่งการอุดหนุนค่าเบ้ยประกันภัยให้เกษตรกรร่วมจ่ายในลักษณะน้นอกจากจะส่งผลต่อปริมาณพ้นท่สมัครใจเข้าร่วม
ี
ื
ี
โครงการฯ โดยรวมแล้ว ยังส่งผลให้มีพ้นท่เข้าร่วมโครงการฯ อยู่ในเขตพ้นท่เส่ยงสูงเท่าน้นด้วย ซ่งส่งผลให้อัตราความเสียหาย (loss ratio)
ื
ี
ี
ั
ื
ึ
ี
ต่อระบบประกันภัยสูงถึงร้อยละ 556.91 ในปี 2554 และในท�านองเดียวกันอัตราความเสียหายร้อยละ 294.64 ในปี 2555
10 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 141