Page 9 - InsuranceJournal141
P. 9
เรื่องเด่น
ตารางที่ 6 แสดงต้นทุนความเสียหายจากค่าขาดประโยชน์ฯ ที่เพิ่มขึ้น แยกตามประเภทรถและประเภทกรมธรรม์
หมายเหตุ: * รวมต้นทุนความเสียหายค่าขาดประโยชน์ฯ ที่เพิ่มขึ้น กรณีเข้าเงื่อนไขสัญญา KFK ซึ่งเป็นมูลค่า 287 บาท
จากตารางที่ 6 ส�านักงานฯ ได้เลือกแสดงต้นทุนความเสียหายจากค่าขาดประโยชน์ฯ ที่จะเพิ่มขึ้น ส�าหรับประเภทรถที่มีหน่วยเสี่ยงภัย
ในปริมาณมาก (หน่วยเสี่ยงภัยรวมประมาณ 95% ของหน่วยเสี่ยงภัยทั้งหมด) จะเห็นได้ว่า หลังจากค�าสั่งนายทะเบียนที่ 70/2561 มีผลบังคับใช้
รถยนต์รหัส 110 กรมธรรม์ประเภท 1 มีต้นทุนความเสียหายจากค่าขาดประโยชน์ฯ ที่จะเพิ่มขึ้นประมาณ 652 บาท ซึ่งสูงกว่ากรมธรรม์ประเภท
ั
ื
�
ี
ื
ี
ี
�
อ่นในรถยนต์รหัสเดียวกัน เน่องจากระดับความเส่ยงภัยของผู้ท่ทาประกันภัยประเภท 1 น้นสูงกว่าระดับความเส่ยงภัยของผู้ท่ทาประกันภัยประเภท
ี
อื่น
อย่างไรก็ตาม การวิเคราะห์ต้นทุนความเสียหายจากค่าขาดประโยชน์ฯ ที่ส�านักงานฯ ได้น�าเสนอในบทความนี้ มีเป้าประสงค์เพื่อเป็น
แนวทางในการคาดการณ์ผลกระทบจากก�าหนดอัตราการชดเชยค่าขาดประโยชน์ฯ ขั้นต�่า ที่มีต่อต้นทุนการรับประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจใน
ิ
ี
ึ
ื
ระดับอุตสาหกรรม และเพ่อแสดงให้เห็นว่า บริษัทประกันภัยควรพิจารณาถึงต้นทุนท่จะเพ่มข้นในการรับประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจในอนาคต
ท้งน้ บริษัทประกันภัยสามารถนาการวิเคราะห์ดังกล่าวไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับระดับความเส่ยงภัยตามนโยบายการรับประกันภัยของแต่ละ
ั
ี
�
ี
ี
ี
บริษัท เช่น หากระดับความเส่ยงของผู้เอาประกันภัยของบริษัทตากว่าระดับอุตสาหกรรมก็สามารถปรับลดความถ่ในการเกิดความเสียหาย
่
�
ั
ต่อรถยนต์ได้ หรือหากบริษัทคาดการณ์ว่าผู้มีสิทธิเรียกร้องค่าขาดประโยชน์ฯ จะไม่ได้เรียกร้องค่าสินไหมทดแทนท้งหมด ก็สามารถปรับปรุง
สมมติฐานด้านความถี่ในการเรียกร้องค่าขาดประโยชน์ฯ ได้ หรือหากเห็นว่าจ�านวนเงินค่าขาดประโยชน์ฯ ที่จ่าย แตกต่างจากมูลค่าดังที่แสดงใน
การวิเคราะห์ของส�านักงานฯ เนื่องจากบริษัทมีแนวทางการจ่ายค่าขาดประโยชน์ฯ ที่แตกต่างออกไป ก็สามารถปรับปรุงสมมติฐานด้านจ�านวน
เงินค่าขาดประโยชน์ฯ ได้
วารสารประกันภัย ตุลาคม - ธันวาคม 2561 9