Page 5 - InsuranceJournal141
P. 5
เรื่องเด่น
ความถี่ในการเรียกร้องค่าขาดประโยชน์ฯ (Frequency)
ี
ี
ี
ี
ี
ในกรณีท่เกิดอุบัติเหตุรถยนต์เฉ่ยวชนกัน ผู้เสียหายท่เป็นฝ่ายถูกมีสิทธิตามกฎหมายท่จะเรียกร้องค่าขาดประโยชน์ฯ จากผู้ท่เป็นฝ่ายผิด
โดยบริษัทประกันภัยของผู้เอาประกันภัยฝ่ายผิดจะจ่ายค่าชดเชยค่าขาดประโยชน์ฯ ให้กับผู้เสียหายที่มาเรียกร้องกับบริษัทประกันภัยแทนผู้เอา
ประกันภัย สานักงานฯ ได้ประเมินความถ่ในการเรียกร้องค่าขาดประโยชน์ฯ โดยพิจารณาจากจานวนสินไหมทดแทนท่ผู้เสียหายสามารถเรียกร้อง
ี
�
ี
�
ค่าขาดประโยชน์ฯ กับบริษัทประกันภัยได้ โดยแสดงดังแผนภาพที่ 1
แผนภาพที่ 1 แสดงกรณีที่ผู้เสียหายสามารถเรียกร้องค่าขาดประโยชน์ฯ จากบริษัทประกันภัยได้
หมายเหตุ: KFK (Knock-for-Knock) คือ สัญญาสละสิทธิ์เรียกร้องค่าเสียหายซึ่งกันและกันตามกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์
ี
่
ี
ี
จากแผนภาพท่ 1 จะเห็นว่าความถท่ผู้เสียหายฝ่ายถูกสามารถเรียกร้องค่าขาดประโยชน์ฯ กับบริษัทประกันภัยได้ (มีคู่กรณีเป็น
ผู้เอาประกันภัยและเป็นฝ่ายผิด) สามารถหาได้จากจ�านวนสินไหมทดแทนกรณีรถเฉี่ยวชนกันและผู้เอาประกันภัยเป็นฝ่ายผิด ซึ่งสามารถแยกได้
เป็น 2 กรณี ดังนี้
1. กรณีท่ไม่เข้าเง่อนไขสัญญา KFK สานักงานฯ ใช้ข้อมูลจานวนสินไหมทดแทนจาก สินไหมทดแทนท่มีการชดเชยความเสียหาย
ี
�
�
ี
ื
ต่อตัวรถยนต์ให้กับคู่กรณีในหมวดความรับผิดต่อทรัพย์สินของบุคคลภายนอก (Third Party Property Damage หรือ TPPD)
2. กรณีที่เข้าเงื่อนไขสัญญา KFK ส�านักงานฯ ใช้ข้อมูลจ�านวนสินไหมทดแทนได้จาก สินไหมทดแทนจากฐานข้อมูลอุตสาหกรรมของ
ส�านักงานฯ
วารสารประกันภัย ตุลาคม - ธันวาคม 2561 5