Page 27 - InsuranceJournal142
P. 27
รอบรู้ประกันภัย
ึ
�
ื
ี
นอกจาก InsurTech ท่ได้กล่าวถึงข้างต้นแล้ว ยังมี InsurTech อ่น ๆ อีกเป็นจานวนมาก ซ่งแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มตามประเภท
การใช้งาน คือ 1) การพิจารณารับประกันภัยและผลิตภัณฑ์ใหม่ 2) การจัดการด้านการประกันภัย และการจัดการงานบุคคล และ 3) บริการ
ที่เกี่ยวข้องกับประกันภัย ซึ่งได้กล่าวแล้วในบทความตอนที่ผ่านมา โดย InsurTech ทั้ง 3 กลุ่มนี้ มีจุดที่แตกต่างจากกลุ่มเว็บไซต์เปรียบเทียบ
ตรงที่ส่วนใหญ่จะมีแนวความคิดหรือเทคโนโลยีที่โดดเด่นเฉพาะตัว เน้นการน�าเสนอสินค้าและบริการที่แตกต่าง หรือเน้นแก้ Pain point ของ
ผู้บริโภคและช่วยให้ผู้ให้บริการ (บริษัทประกันภัย) ส่งมอบคุณค่าให้แก่ลูกค้าของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังน้น จึงขอหยิบยก InsurTech
ั
บางรายในอาเซียนที่น่าสนใจของแต่ละกลุ่มมาแนะน�าให้ผู้อ่านได้รู้จักกัน
1) การพิจารณารับประกันภัยและผลิตภัณฑ์ประกันภัยใหม่
1.1) เทคโนโลยี Telematics ส�าหรับประกันภัยรถยนต์ที่สามารถใช้ตรวจสอบพฤติกรรมผู้ขับขี่ เพื่อให้บริษัทประกันภัยสามารถ
พิจารณารับประกันหรือคิดเบี้ยฯ ได้เหมาะสมตามระดับความเสี่ยง
ผู้เล่นในปัจจุบัน: Income (สิงคโปร์) MSIG (สิงคโปร์) และ AXA (มาเลเซีย)
ั
ั
ี
1.2) ประกันภัยรถยนต์รูปแบบ Peer-to-Peer (P2P) ถอเป็นประกันภัยแนวใหม่ทแตกต่างจากการรบประกนรูปแบบด้งเดิม โดย
ั
่
ื
ี
�
ี
เป็นการชักชวนหรือรวมกลุ่มกันของคนท่รู้จักกันและมีพฤติกรรมการขับข่หรือประวัติการเคลมท่ดีมาร่วมกันทาประกันใน
ี
ี
ุ
ั
ลกษณะของกล่ม หากปรากฏว่า ไม่มเคลม หรอเคลมน้อย สมาชกในกล่มกจะได้รบผลตอบแทนกลบคนในรปของส่วนลด
ิ
ุ
ื
็
ู
ั
ั
ื
เบี้ยฯ ปีต่อไป หรือเงินคืน เป็นต้น ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เอาประกันมีส่วนร่วมในการเป็นผู้พิจารณารับประกันภัยไปใน
ตัว รวมถึงมีการตรวจสอบเคลมระหว่างกัน
ผู้เล่นในปัจจุบัน: Carpool (ไทย) Fairdee (ไทย) Vouch (สิงคโปร์) และ Bandboo (สิงคโปร์) โดย Fairdee และ Vouch
เป็นบริษัทในเครือของ Insbee (สิงคโปร์)
1.3) ประกันสุขภาพโดยใช้ Wearable devices ที่นิยมในปัจจุบันก็เห็นจะเป็นนาฬิกาข้อมือ (Smart Watch) หรืออุปกรณ์กีฬา
ต่าง ๆ ท่ใช้ติดตามหรือตรวจสอบการทากิจกรรมในชีวิตประจาวัน ไม่ว่าจะเป็นการเดิน การว่ง การเล่นกีฬา โดยจะมีการเช่อม
ื
�
ี
�
ิ
ต่อกับ application ต่าง ๆ ซึ่งข้อมูลที่ได้จะถูกน�ามาประมวลผล เพื่อที่ผู้เอาประกันจะได้รับสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น
ส่วนลดเบี้ยฯ ส่วนลดร้านค้าหรือบริการต่าง ๆ รวมถึงฟิตเนส
ผู้เล่นในปัจจุบัน: Fit sense (สิงคโปร์) AIA Vitality (ไทย สิงคโปร์ และมาเลเซีย) ประกันภัยไทยวิวัฒน์ (ไทย) เมืองไทยประกัน
ชีวิต (ไทย)
1.4) ประกันภัย On-Demand หรือที่รู้จักกันในชื่อ “ประกัน เปิด-ปิด” หรือหากเป็นในต่างประเทศจะนิยามรูปแบบนี้ว่า “pay
per use/pay per mile” ซึ่งประกันภัยรูปแบบนี้พัฒนาขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาของผู้บริโภคเป็นหลัก คือต้องการจ่ายเบี้ยตาม
การใช้งานจริงเท่านั้น ซึ่งปัจจุบันมีประกันภัยรถยนต์ ประกันภัยการเดินทาง และประกันภัยโดรนที่ใช้รูปแบบการรับประกัน
ลักษณะนี้อยู่
ผู้เล่นในปัจจุบัน: ประกันภัยไทยวิวัฒน์ (ไทย/ครอบคลุมทั้งประกันภัยรถยนต์และประกันภัยการเดินทาง)
1.5) Microinsurance ที่มีการน�าเทคโนโลยีมาใช้ในการซื้อ/ขาย เช่น BIMA เป็นผู้ขายประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคล ประกัน
7
สุขภาพ และประกันชีวิต โดยจะเน้นกลุ่มลูกค้าผู้ที่มีรายได้น้อย อาศัยหลักการท�างานที่ง่าย เพราะสามารถซื้อประกันภัยผ่าน
ี
โทรศัพท์มือถือได้ทันที คล้ายกับการเติมเงินมือถือในรูปแบบ pre-paid สามารถซ้อตามวงเงินหรือระยะเวลาคุ้มครองท่ต้องการ
ื
ซื้อเมื่อไหร่ก็ได้ตามที่ต้องการ โดย BIMA เป็นพันธมิตรร่วมกับผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์มือถือและธนาคารหลายรายใน
ทวีปแอฟริกา ละตินอเมริกา แคริบเบียน และเอเชีย รวมถึง 4 ประเทศในอาเซียนด้วยคือ กัมพูชา อินโดนีเซีย มาเลเซีย และ
ฟิลิปปินส์ ในปัจจุบัน มีผู้ใช้บริการแล้วกว่า 26 ล้านคน และมียอดลูกค้าใหม่สูงถึง 575,000 รายต่อเดือน 8
7 อ้างอิงจากเว็บไซต์ http://www.bimamobile.com/
8 อ้างอิงจากเว็บไซต์ http://www.bimamobile.com/about-bima/about-us-new/
วารสารประกันภัย ฉบับเดือนมกราคม - มีนาคม 2562 27