Page 5 - InsuranceJournal145
P. 5

เรื่องเด่น



                ในการสัมมนาดังกล่าวได้รับเกียรติจาก นายประสงค์ พูนธเนศ ปลัดกระทรวงการคลัง
          ปาฐกถาพิเศษหัวข้อ Insurance in a Digital World: Innovate the Future ซึ่งได้กล่าวถึงการ
            ี
                                        ี
          เปล่ยนแปลงของเทคโนโลยีในปัจจุบันท่มีการพัฒนาไปอย่างก้าวกระโดด และมีบทบาทในการ
                                                                                ื
            ี
                                                �
          เปล่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภคเป็นอย่างมาก จึงทาให้ภาคธุรกิจประกันภัยจะต้องเร่งปรับตัวเพ่อ
          ก้าวทันต่อการเปล่ยนแปลงท่เกิดข้น รวมถึงธุรกิจประกันภัยมีความจาเป็นท่จะต้องปรับตัวให้ทันต่อ
                                  ึ
                              ี
                                                                ี
                       ี
                                                           �
          การเปลี่ยนผ่านทางเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Transformation) โดยการน�าเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ให้
                                                                   ื
                                                                            ั
          เกิดประโยชน์ในการดาเนินธุรกิจในการปรับรูปแบบกระบวนการข้นตอนต่าง ๆ เพ่อเป็นการลดข้นตอน
                         �
                                                        ั
          และลดต้นทุน เช่น การออกผลิตภัณฑ์ประกันภัย การจัดการสินไหมทดแทน การรับประกันภัย
          และการบริการ เพื่อให้ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคที่เปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว โดยในปัจจุบัน
                                  ิ
                                           ื
          จะเห็นได้ว่าภาคธุรกิจประกันภัยเร่มมีปรับตัวเพ่อให้สามารถก้าวได้ทันกับเทคโนโลยีท่เปล่ยนแปลงไป
                                                                      ี
                                                                         ี
                �
          โดยการนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ อาทิ Blockchain Biometrics และ Artificial Intelligence (AI)
                               ิ
                                                             �
          เข้ามาใช้เป็นเคร่องมือในการเพ่มศักยภาพในการแข่งขันทางธุรกิจ และท่สาคัญเพ่อให้ผู้บริโภคสามารถ
                                                            ี
                                                                  ื
                     ื
                                                                     �
          เข้าถึงการประกันภัยได้ตรงตามความต้องการ อย่างไรก็ตาม สานักงานคณะกรรมการกากับและส่งเสริม  นายประสงค์ พูนธเนศ
                                                    �
          การประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) ก็จะต้องมีการทบทวนบทบาท และเปล่ยนแปลงกฎระเบียบ   ปลัดกระทรวงการคลัง
                                                                  ี
          ให้มีความเหมาะสม บางเรื่องอาจจะต้องมีความเข้มข้นมากขึ้น หรือจะต้องผ่อนคลายลง ในขณะที่ยัง
          ต้องค�านึงถึงการคุ้มครองสิทธิให้กับประชาชนเป็นส�าคัญด้วยเช่นเดียวกัน
                                                                                    �
                                                ในช่วงต่อมาเป็นการบรรยายพิเศษ หัวข้อ การกากับและพัฒนาธุรกิจประกันภัยในยุค
                                                                    ุ
                                                                      ิ
                                                                           ี
                                                                                                    �
                                         เศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล โดย ดร. สทธพล ทวชัยการ เลขาธิการคณะกรรมการกากับและส่งเสริม
                                         การประกอบธุรกิจประกันภัย ซ่งได้กล่าวถึงบทบาทและหน้าท่ในการพัฒนาธุรกิจประกันภัยในยุค
                                                                                      ี
                                                                ึ
                                         เศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลของสานักงาน คปภ. โดยการสนับสนุนและส่งเสริมให้ภาคธุรกิจประกันภัย
                                                               �
                                         ได้มีการปรับตัวให้ทันต่อยุคเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล โดยการนาเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทใน
                                                                                         �
                                         กระบวนการบริหารจัดการมากขึ้น เช่น การจัดการสินไหมทดแทน การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน
                                         รวมถึงการพัฒนาวงการประกันภัยไปสู่รูปแบบ FinTech และ InsurTech เพื่อให้ความก้าวหน้าทาง
                                         เทคโนโลยีส่งผลให้ธุรกิจประกันภัยมีการเปล่ยนแปลงพัฒนาไปโดยมองการพัฒนาใน 3 ลักษณะ ดังน ี ้
                                                                        ี
                                                1. Insurance As A Service คือ การให้บริการประกันภัยจะอยู่รูปแบบใหม่ โดยการเข้า
                                         ถึงและผสานในเชิงลึกกับชีวิตประจ�าวันของผู้คนมากยิ่งขึ้น
                ดร. สุทธิพล ทวีชัยการ           2. Embrace New Technology คือ การเข้ามาของนวัตกรรมและเทคโนโลยี ส่งผลให้
                   เลขาธิการ คปภ.
                                         ภาคธุรกิจต้องน�าเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ เพื่อรักษาความสามารถในการแข่งขันเพื่อให้ธุรกิจเติบโต
                                         ต่อไปในอนาคต
                3. Collaboration With Startups คือ การสร้างเครือข่าย และจัดการทีมงานด้านนวัตกรรม IT ในรูปแบบของ Startups-like team
          โดยจะเข้ามามีบทบาท และสามารถตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีได้อย่างรวดเร็ว
                และจากการพัฒนาศักยภาพของธุรกิจประกันภัยภายใต้การขับเคลื่อนแผนพัฒนาการประกันภัยฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2559-2563) นั้น ได้มี
          การก�าหนดยุทธศาสตร์ในการด�าเนินงานเพื่อให้ระบบประกันภัยไทยเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน และได้รับความเชื่อถือไว้วางใจจากประชาชน ดังนี้
                                    ิ
                    ยุทธศาสตร์ท่ 1 การเพ่มศักยภาพของอุตสาหกรรม และลดต้นทุนทางเศรษฐกิจของภาคธุรกิจ เช่น การกากับเงินกองทุนตามระดับ
                                                                                             �
                             ี
                                                            ี
                               ี
               ี
                                                                      ั
          ความเส่ยง การบริหารความเส่ยงเชิงบูรณาการด้วยการประเมินความเส่ยงและความม่นคงทางการเงิน (Own Risk and Solvency Assessment
          : ORSA) และศูนย์ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทด้านการประกันภัย เป็นต้น
                    ยุทธศาสตร์ท่ 2 การเสริมสร้างความรู้และการเข้าถึงการประกันภัย ให้ประชาชนมีความรู้และสามารถเข้าถึงการบริการ เช่น โครงการ
                             ี
          คปภ. เพื่อชุมชน (OIC for Community) โครงการอบรมความรู้ประกันภัย (Training for the trainers) และการประกันภัยส�าหรับรายย่อย
          (Micro Insurance) ส�าหรับกลุ่มผู้มีรายได้น้อย เป็นต้น
                                                                                 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 145   5
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10