Page 7 - InsuranceJournal145
P. 7

เรื่องเด่น



                ทั้งนี้ จากการด�าเนินการตามยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาการประกันภัยฉบับที่ 3 ส�านักงาน คปภ. ได้น�ามาต่อยอดเพื่อเริ่มเตรียมการ
          ส�าหรับการจัดท�ากรอบแผนพัฒนาการประกันภัยฉบับที่ 4 เพื่อพัฒนาและเตรียมตัวรับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยจะมุ่งเน้นใน
          ด้านก�ากับและส่งเสริมอุตสาหกรรมประกันภัยอย่างสมดุลและปรับตัวเท่าทันการเปลี่ยนแปลงเพื่อให้ธุรกิจประกันภัยมีความยั่งยืน โดยตั้งอยู่บน
           ื
          พ้นฐานของการรักษาสมดุลระหว่างการคุ้มครองสิทธิประโยชน์ประชาชน และการส่งเสริมให้ภาคธุรกิจประกันภัยมีศักยภาพในการบริหารงาน
          และมีธรรมาภิบาล ตลอดจนขับเคลื่อนภาคธุรกิจไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนต่อไป























                ในช่วงบ่ายเป็นการบรรยาย เรื่อง “Impacts of the Personal Data Protection
          Act on the Non-Life Insurance Industry” โดย รศ. คณาธิป ทองรวีวงศ์ ผู้อ�านวยการ
                                �
                      ื
          สถาบันกฎหมายส่อดิจิทัล ประจาหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย
          เกษมบัณฑิต โดยวิทยากรได้กล่าวถึง “พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562”
           ี
                                         �
          ท่จะมีผลบังคับใช้ในเดือนพฤษภาคม 2563 ทาให้ธุรกิจประกันวินาศภัยหลายภาคส่วนเกิดความ
                ิ
                           �
                                       ี
                  ี
          กังวลต่อส่งท่จะต้องกระทาก่อนและหลังท่กฎหมายจะใช้บังคับรวมถึงผลกระทบต่อธุรกิจประกัน
          วินาศภัย เน่องจากธุรกิจประกันวินาศภัยเป็นธุรกิจท่ต้องทาธุรกรรมระหว่าง “บุคคล” เป็น
                   ื
                                                    �
                                                ี
                   ั
                     ี
          จานวนมาก ท้งน้ สาเหตุหลักท่ประเทศไทยต้องมีพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.
                               ี
           �
          2562 เนื่องจากสหภาพยุโรป (European Union: EU) ได้ออก GDPR (General Data Pro-
          tection Regulation) เป็นกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล บังคับใช้เม่อ 25 พฤษภาคม
                                                               ื
          2561 ซ่งนอกจากจะมีผลบังคับใช้แก่การส่งข้อมูลภายในประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปแล้ว
                ึ
                                                                    ี
                          ี
          ผู้ประกอบการในไทยท่ต้องติดต่อ รับส่งข้อมูลส่วนบุคคลของประชาชนในประเทศท่เป็นสมาชิก
          สหภาพยุโรป (Cross-Border Data Transfer Issues) ก็ต้องมีมาตรการคุ้มครองข้อมูลส่วน
          บุคคลที่เหมาะสมและเพียงพอด้วย จึงเป็นท่มาของการตราพระราชบัญญัติน้ใช้บังคับกับบุคคล
                                         ี
                                                                ี
          ในประเทศไทย โดยวิทยากรได้ให้ความเห็นในงานสัมมนาว่าในความเป็นจริงแล้วพระราชบัญญัต ิ
          ฉบับนี้ไม่ได้อยู่ได้ด้วยตัวเองแต่มีกฎหมายที่เกี่ยวข้องอีก 2 ฉบับ คือ พระราชบัญญัติว่าด้วยการ   รศ. คณาธิป ทองรวีวงศ์
                                          ี
          กระทาความผิดเก่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับท่ 2) พ.ศ. 2560 และพระราชบัญญัติการรักษา  ผู้อ�านวยการสถาบันกฎหมายสื่อดิจิทัล
              �
                       ี
                                                                                       มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
          ความปลอดภัยมั่นคงไซเบอร์ พ.ศ. 2562 ที่จะต้องใช้ร่วมกัน
                โดยหลักการและแนวคิดส�าคัญของพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 คือ เรื่องความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล
                                                                                                             ี
                                                               ี
                                                                                                   ื
                        ึ
                                      ั
          (Data security) ซ่งข้อมูลส่วนบุคคลน้น หมายความว่า ข้อมูลใดก็ตามท่ระบุตัวบุคคลได้ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม เช่น ช่อ-นามสกุล ท่อยู่
          หมายเลขโทรศัพท์ ภาพถ่าย หมายเลขบัตรประชาชน วันเดือนปีเกิด ลายนิ้วมือ ม่านตา อีเมล IP address คุกกี้ ฯลฯ ของบุคคลทั่วไปจะถือเป็น
                                                                                       ึ
          ข้อมูลส่วนบุคคลตามพระราชบัญญัติน้ท้งหมด ท้งน้ ไม่คุ้มครองรวมถึงข้อมูลของนิติบุคคล เพ่อให้เข้าใจได้ง่ายข้น วิทยากรจึงแบ่งผู้มีส่วนเก่ยวข้อง
                                                                                                           ี
                                      ั
                                            ั
                                              ี
                                                                           ื
                                     ี
          เป็น 3 กลุ่ม ดังนี้
                                                                                 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 145   7
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12