Page 6 - InsuranceJournal146
P. 6
เรื่องเด่น
ปัจจัยเสี่ยงและผลกระทบต่อการดำาเนินธุรกิจในปัจจุบัน
การแพร่ระบาดของโรค COVID-19
ในภาวะที่ผู้คนมีความหวาดกลัวการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา (โรค COVID-19) อีกทั้งค่าใช้จ่ายที่จะตามมาจากค่ารักษาพยาบาล
ี
และการขาดรายได้จากการประกอบอาชีพหากป่วยด้วยโรค COVID-19 ธุรกิจประกันภัยในบทบาทของการเป็นผู้บริหารความเส่ยงมืออาชีพ
และเป็นเสาหลักให้กับระบบเศรษฐกิจและสังคม จึงได้เข้ามามีส่วนช่วยบรรเทาความทุกข์ร้อนของประชาชนด้วยการออกผลิตภัณฑ์ประกันภัย
การติดเชื้อไวรัสโคโรนา โดยผลิตภัณฑ์ดังกล่าวนั้นได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีเนื่องจากการระบาดอาจเกิดขึ้นเป็นวงกว้าง ส่งผลกระทบต่อชีวิต
�
ี
ร่างกาย และอนามัย จากการเก็บรวบรวมข้อมูลของสานักงานอัตราเบ้ยประกันวินาศภัย พบว่าเบ้ยประกันภัยรับโดยตรงของการประกันภัยสุขภาพ
ี
ทั้งหมด สะสมตั้งแต่ต้นปีถึงสิ้นเดือนมีนาคม 2563 เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกันของปีที่แล้ว 87.4% โดยในเดือนมีนาคมเพียงเดือนเดียวเพิ่มขึ้น
ถึง 233.5% เมื่อเทียบกับเดือนมีนาคม 2562 นอกจากนี้ มีรายงานข่าวจากส�านักงาน คปภ. ณ วันที่ 17 เมษายน 2563 ว่ามีจ�านวนกรมธรรม์
ุ
่
ี
ึ
ี
�
่
้
ั
ี
ั
Covid-19 ท่ขายได้ประมาณ 8.2 ล้านกรมธรรม์ ซงคาดว่าธรกิจประกนวินาศภัยจะได้รับเบ้ยประกันภัยรับโดยตรงจากผลิตภณฑ์นไม่ตากว่า
3,000 ล้านบาท สะท้อนให้เห็นว่าประชาชนเร่มตระหนักถึงความสาคัญของการทาประกันภัยมากข้น อย่างไรก็ตามในฐานะท่ธุรกิจประกันภัย
ี
�
ิ
�
ึ
เป็นมืออาชีพในด้านการบริหารความเสี่ยง สิ่งที่บริษัทประกันภัยต้องค�านึงถึงต่อไปก็คือ
ี
ั
บริษัทประกันภัยได้ทาประกันภัยต่อเพ่อบริหารความเส่ยงของตัวเองหากอัตราการระบาดน้นมากกว่าท่บริษัทคาดการณ์อย่างม ี
ื
�
ี
นัยส�าคัญอย่างเพียงพอแล้วหรือไม่
ี
ื
ื
ี
บริษัทประกันภัยมีวิธีจัดการอย่างไรในกรณท่ผู้เอาประกันภัยซ้อกรมธรรม์หลายฉบับ และจงใจไม่ป้องกันตัวเองจากการติดเช้อ
เพื่อหวังเงินเอาประกันภัย
ี
ี
ี
ื
บริษัทประกันภัยได้เตรียมการช้แจงประเด็นข้อสงสัยต่าง ๆ เก่ยวกับประกันภัย COVID-19 ให้ชัดเจน เพ่อสร้างภาพลักษณ์ท่ด ี
ให้กับธุรกิจประกันภัยแล้วหรือไม่ เช่น หากแพทย์ระบุว่าเป็นโรคปอดอักเสบจะสามารถเรียกร้องค่าสินไหมได้หรือไม่ เป็นต้น
นอกจากนี้ รัฐบาลยังได้ออกมาตรการดูแลและเยียวยา โดยลดภาระการเสียภาษีเงินได้โดยเพิ่มวงเงินลดหย่อนค่าเบี้ยประกันสุขภาพ
จากเดิม 15,000 บาท เป็น 25,000 บาท ซึ่งธุรกิจประกันภัยก็ได้รับอานิสงส์จากมาตรการนี้ด้วยเช่นกัน
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวซบเชา
ั
ั
ึ
สืบเน่องจากการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ซ่งไม่ได้ระบาดเพียงแต่ในประเทศไทย แต่การแพร่ระบาดน้นได้ลุกลามไปท่วโลก
ื
ี
ส่งผลกระทบโดยตรงกับอุตสาหกรรมการท่องเท่ยวและการค้าระหว่างประเทศของไทยเป็นอย่างมาก และแน่นอนว่าย่อมส่งผลไปถึงเศรษฐกิจ
ี
ึ
โดยรวมของไทย เน่องจากโครงสร้างเศรษฐกิจไทยพ่งพาการท่องเท่ยวและการส่งออกสูง สาหรับธุรกิจประกันภัยก็จะได้รับผลกระทบจากการ
ื
�
ี
ี
ชะลอตัวของการท่องเท่ยวและการค้าระหว่างประเทศเช่นกัน ซ่งเราจะเห็นเบ้ยประกันภัยรับโดยตรงของการประกันภัยการเดินทางท่มีสัดส่วน
ี
ึ
ประมาณ 1% ของเบี้ยประกันภัยทั้งหมด จะเริ่มน้อยลงกว่าปกติตั้งแต่เดือนมีนาคม 2563 เป็นต้นไป โดยพบว่าเบี้ยประกันภัยรับโดยตรงของ
การประกันภัยการเดินทางลดลง 83.4% และ 95.5% เมื่อเทียบกับเดือนมีนาคม และเดือนเมษายน 2562 ตามล�าดับ
ตลาดอสังหาริมทรัพย์ชะลอตัว
ในปีท่ผ่านมาจะเห็นว่ามีหลายปัจจัยท่ส่งผลให้ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ชะลอตัว ยกตัวอย่างเช่น สงครามการค้าระหว่างจีน-สหรัฐ
ี
ี
้
้
ิ
ิ
่
้
ิ
�
็
อกทงเงนบาทแขงค่า ทาให้กาลงซอจากต่างชาตโดยเฉพาะจนชะลอตว เศรษฐกจโลกรวมถงเศรษฐกจไทยตกตา หนครวเรอนสงขน ธนาคาร
ั
ี
ึ
ี
ึ
ี
ั
้
�
ื
ิ
ั
ื
ู
�
ั
แห่งประเทศไทย (ธปท.) ออกมาตรการก�ากับสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยใหม่ (LTV) สถาบันการเงินปล่อยสินเชื่อที่อยู่อาศัยยากขึ้น และ Over Supply
ื
่
ิ
ในตลาดคอนโดมเนยม สงผลกระทบมาถงการประกนอคคภยเนองจากการซออสงหารมทรพย เชน บาน คอนโดมเนียม โดยการขอสนเชอธนาคาร
ิ
่
ื
ื
่
ั
ั
ึ
ี
ั
ิ
ั
์
้
่
ิ
ี
้
ั
จะต้องมีการท�าประกันอัคคีภัยเพื่อคุ้มครองหลักทรัพย์ค�้าประกัน จากข้อมูล ณ สิ้นปี 2562 พบว่าจ�านวนกรมธรรม์ประกันอัคคีภัยเมื่อเทียบกับ
ปีท่ผ่านมา ลดลง 4.2% โดยเฉพาะการจาหน่ายผ่านช่องทางธนาคารซ่งเป็นช่องทางหลัก ลดลง 4.9% ช่องทางนายหน้า ลดลง 3.4% และ
�
ึ
ี
ช่องทางตัวแทน ลดลง 2.0% แม้ว่าเบี้ยประกันภัยรับโดยตรงจะลดลงเพียงเล็กน้อย 0.9% แต่ก็สะท้อนให้เห็นว่าความต้องการซื้อประกันอัคคีภัย
น้อยลงตามการชะลอตัวของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ซึ่งศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์คาดการณ์ว่าในปี 2563 ยังคงมีแนวโน้มชะลอตัวต่อเนื่อง
6 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 146