Page 73 - TGIA_AnnualReport2015
P. 73
รายงานผลการด�าเนินงาน
คณะกรรมการการบัญชี-การเงิน และการลงทุน
1. การจ�าหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ ที่เกิดจากการประกันภัยต่อในเหตุอุทกภัยปี 2554
สืบเนื่องจากเหตุอุทกภัยปี 2554 ที่มีการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากบริษัทประกันภัยจ�านวนมาก สมาคมประกัน
ี
�
�
ื
วินาศภัยไทยจึงได้นาเสนอต่อกระทรวงการคลังเพ่อขอให้ภาครัฐช่วยกาหนดกฎเกณฑ์การจาหน่ายหน้สูญจากบัญชีลูกหน ้ ี
�
ประกันภัยต่อ ในกรณีที่บริษัทไม่สามารถช�าระค่าสินไหมทดแทนได้ทั้งจ�านวน โดยอาจจะมีการขอเจรจาลดหนี้ หรือในกรณี
�
ี
ี
�
ท่ไม่สามารถตกลงกันได้บริษัทประกันวินาศภัยอาจต้องพิจารณาดาเนินคด แต่บริษัทประกันวินาศภัยไม่สามารถนาค่า
สินไหมทดแทนส่วนที่ไม่ได้รับช�าระ (หนี้สูญ) มาตัดเป็นค่าใช้จ่ายในทางภาษีได้ ทั้งนี้ ส�านักงาน คปภ. ได้ออกประกาศ คปภ.
เรื่อง การพิจารณาค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์จากการประกันภัยต่อกรณีภาวะอุทกภัย ปี พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2558 เพื่อ
ี
รองรับหลักเกณฑ์ในการจ�าหน่ายหน้สูญของกรมสรรพากรแล้ว โดยขณะน้อยู่ระหว่างการพิจารณาออกกฎกระทรวงจาก
ี
กรมสรรพากร
จัดอบรม เรื่อง การเตรียมพร้อมในการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การจ�าหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้
จากการประกันภัยต่อ ในเหตุอุทุกภัย ปี 2554 เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2558 ณ สมาคมประกันวินาศภัยไทย
2. ฐานภาษีมูลค่าเพิ่มจากการประกันภัยต่อ
ตามที่สมาคมประกันวินาศภัยไทย ได้มีหนังสือขอให้กรมสรรพากรพิจารณาฐานภาษีมูลค่าเพิ่มจากการประกันต่อ
ี
ี
โดยมีหนังสือชี้แจงและขอให้คิดฐานภาษีจากเบ้ยประกันภัยหลังหักส่วนลดจากการประกันภัยต่อ (Net) ซึ่งขณะน้กรม
สรรพากร ได้ออกประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 207) เรื่อง ก�าหนดลักษณะ และเงื่อนไข ค่า
ตอบแทนที่ไม่ต้องน�ามารวมค�านวณมูลค่าของฐานภาษี ตามมาตรา 79(4) แห่งประมวลรัษฎากรซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมประมวล
รัษฎากร (ฉบับที่ 30) พ.ศ. 2534 โดยให้เพิ่มข้อความเป็น (21) ของข้อ 2 ของประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษี
มูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 40) ดังนี้
“(21) มูลค่าของการให้บริการรับประกันวินาศภัยต่อตามกฎหมายว่าด้วยการประกันวินาศภัย ทั้งนี้ เฉพาะส่วนลด
ประกันภัยต่อที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ประกอบกิจการประกันภัยต่อได้หักออกจากค่าเบี้ยประกันภัยต่อ”
3. การพิจารณาการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
ด้วยคณะกรรมการการบัญชี-การเงิน และการลงทุน ร่วมกับชมรมนักบัญชีประกันภัย ร่วมกันพิจารณาเพื่อขอ
ด�าเนินการเป็นตัวแทนหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายแทนผู้เอาประกันภัยที่เป็นนิติบุคคล ซึ่งได้มอบให้บริษัท อีวาย คอร์ปอเรท
เซอร์วิสเซส จ�ากัด เป็นที่ปรึกษาฯ โดยได้ท�าการศึกษาแนวทางปฏิบัติ โดยได้เทียบเคียงประกาศและแนววินิจฉัยหนังสือ
ตอบข้อหารือของกรมสรรพากร
ทั้งนี้ คณะท�างานฯ อยู่ในขั้นตอนการพิจารณาข้อดีและข้อเสีย รวมทั้งต้นทุนเปรียบเทียบ เพื่อให้เกิดความชัดเจนใน
การปฏิบัติ หากพิจารณาแล้วมีความเป็นไปได้ในการเป็นตัวแทนเพื่อด�าเนินการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายแทนผู้จ่ายเงินจึงจะ
น�าเสนอต่อกรมสรรพากรเพื่อพิจารณาต่อไป
70 รายงานประจาปี 2558 | Annual Report 2015
�