Page 25 - IFRS17
P. 25
เรื่่�องต้้องรื่ IFRS 17 มาต้รื่ฐานบััญชีีใหม่ธุุรื่กิิจปรื่ะกิันภััย [25]
้
้
�
�
์
ถ้งแม�วีัตถุประสิงคข้อง IFRS 17 กับ RBC จีะแตกต่างกันโดยสิิ�นเชิง แต่ทั�งค้่ก็เป็นมาตรวีัดทีทัวีโลกนิยมเอา
่
่
ี
มาใช�ค้่กัน เพิ่�อให�ผู้้�มสิวีนได�สิวีนเสิียได�เห็นภัาพิในมุมมองที�แตกต่างกัน ซิ้�งนักบัญชี นักคณีิตศาสิตร์ประกันภััย และ
ิ
ผู้้�เชี�ยวีชาญที�เกี�ยวีข้องนั�น จีำเป็นจีะต�องศ้กษัาและนำมาประยุกต์ใช�กับองค์กรและภัาคธุรกจีให�เช่�อมต่อและผู้ลักดัน
�
ิ
่
ให�ธุรกจีเติบโตอย่างยั�งย่นด�วียแพิลตฟัอร์ม (Platform) ทีจีะพิลิกโฉมธุรกจีประกันภััยในไมช�านี �
�
ิ
คว่ามเหม่อนแลิะคว่ามแต้กต้่างระหว่่าง IFRS17 กับ VoNB/VIF
VoNB (Value of New Business) และ VIF (Value of Inforce) เป็นคำทีคุ�นเคยกันดีทั�งภัาคธุรกจีประกัน
�
ิ
ิ
�
ี
ิ
ชวีิตและธุรกจีประกันวีินาศภััย ในเวีลาทีต�องการประเมินราคาหุ�นหร่อม้ลค่ากจีการข้องบริษััท โดยเฉพิาะอย่างยิ�ง จีะ
�
ิ
ี
ิ
เป็นวีธที�ใช�กันในตอนทีต�องมีการควีบรวีมกจีการ
Contractual Service Margin (CSM) ในวีันที�ออกกรมธรรมนั�น เปรียบเทียบได�กับ Value of New Busi-
์
ness (VoNB)
Contractual Service Margin (CSM) ในเวีลาต่อมาหลังจีากที�ออกกรมธรรม์ไปแล�วีนั�น เปรียบเทียบได�กับ
Value of Inforce (VIF) โดย Contractual Service Margin (CSM) จีะมองจีากอดีตจีนมาถ้งวีันนี� (Retrospective)
แต่ Value of Inforce (VIF) จีะเป็นการมองจีากอนาคตข้�างหน�ามาเป็นวีันนี� (Prospective)
ทั�งนี� จีะเห็นวี่า Contractual Service Margin (CSM) ใน มาตรฐาน IFRS 17 จีะไปลดควีามสิำคัญข้องการ
็
คำนวีณีแบบ VoNB/VIF ลง และการตั�ง Key Performance Index (KPI) ข้องบริษััทประกันในอนาคตกมีแนวีโน�มที �
จีะเปลี�ยนจีากการใช� VoNB/VIF มาเป็น Contractual Service Margin (CSM) ข้องมาตรฐาน IFRS 17 แทน
ต้บท้าย
เน่�องจีากมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที� 17 เร่�อง สิัญญาประกันภััย เป็นมาตรฐานรายงานทางการ
�
�
ี
ี
เงินทีมผู้ลกระทบต่อการจีัดประเภัทและวีัดม้ลค่า ตลอดจีนการแสิดงรายการและการเปิดเผู้ยข้อม้ลอย่างมสิาระ
่
�
่
ิ
สิำคัญต่อธุรกจีประกันชวีิตและประกันวีินาศภััย อีกทั�งยังเป็นมาตรฐานทีต�องรวีมม่อจีากหลายหนวียงาน เช่น
ี
คณีิตศาสิตร์ประกันภััย การบัญชี หร่อแม�แต่กระทั�งการลงทุน
�
หลายหน่วียงานในธุรกิจีประกันภััยไดตระหนักถงควีามสิำคัญและเตรียมติดอาวีุธทางควีามร้�ให�พิรอมเพิ่�อ
้
�
์
�
ั
การปฏิิบติตามมาตรฐานดังกล่าวี และได�ทำงานกันอย่างหนัก เพิ่�อทีจีะได�นำมาตรฐานนี�ไปใช�และเกิดประโยชนสิ้งสิุด
ต่อภัาคธุรกจี
ิ
ี
�
ิ
จีากทีอ่านมาตรฐานฉบับนี�แล�วี สิิ�งหลัก ๆ ที�เปลี�ยนโฉมธุรกจีประกันภััย มดังนี �
ิ
- วีธีการรับร้�รายได� ที�เปลี�ยนจีากเบี�ยประกันภััย (Premium) ให�เป็นเหม่อนค่าธรรมเนียม (Service fee)
ิ
่
- วีธีการรับร้�กำไร/ข้าดทุนตั�งแตวีันแรกแบบอสิมมาตร (Asymmetry) ซิ้�งเม่�อเวีลาข้าดทุน (Onerous
็
contract) กจีะให�บันท้กข้าดทุนลงทันที แต่เวีลาที�กำไรกจีะให�ทยอยรับร้� (แบบ Contractual Service Margin)
็
- วีธีการรับร้�กำไร/ข้าดทุนหลังจีากที�ได�ข้ายกรมธรรม์แล�วี ซิ้�งต�องเก็บบันท้ก (Keep Record) สิิ�งที�เคยลง
ิ
กำไรหร่อข้าดทุนไปแล�วีตลอดเวีลา เน่�องจีากควีามเป็นอสิมมาตร (Asymmetry) ในการรับรทั�งสิองข้าที�แตกต่างกัน
้�
- กำไรจีะถ้กนิยามให�ละเอียดข้้�นโดยแบ่งเป็น Underwriting performance และ Investment
performance