Page 240 - InsuranceHandbook
P. 240

บทที่ 18 ประเภทของการประกันวินาศภัย    221



 ตัวอย่างในการก่อสร้างอาคารสูงแห่งหนึ่งเพื่อใช้เป็นอาคารสำนักงาน หรือเป็นอาคารชุด (Condominium)   1) ความเสียหายต่อทรพย์สินที่มีอยู่เดิม (Existing Property) ของผู้ว่าจ้าง หรือทรัพย์สินในการดูแลรกษา
                                         ั
                                                                                                         ั
 ้
 ซึ่งเจ้าของโครงการได้เปิดประมูลและไดผู้รับเหมาหลัก (Main Contractor) รับผิดชอบงานทุกอย่างของโครงการ  และควบคุม (Property Under Care Custody and Control) หรือเป็นของผู้เอาประกันภัย ซึ่งเป็นความเสียหาย
                                                                                                           ั
 ่
 ก่อสร้างนี้ ซงประกอบด้วย งานฐานราก งานก่อสร้างอาคาร งานติดตั้งเครื่องจักร ระบบไฟฟ้า ระบบดับเพลิง ระบบ  ที่เกิดจาก หรือเป็นผลมาจากการก่อสร้าง และ/หรือ การติดตั้งเครองจักรซึ่งได้เอาประกันภัยไว้ ซึ่งเหมาะสำหรบ
                                                                      ่
                                                                      ื
 ึ
 สุขาภิบาล และระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ โดยผู้รับเหมาหลักอาจจะมีการว่าจ้างผู้รับเหมาช่วง (Subcontractor)   กรณีของผู้รับเหมางานต่อเติม หรือปรับปรุงอาคารของผู้ว่าจ้างงาน หรือผู้รับเหมาที่เข้าไปทำการติดตั้งเครื่องจักรชุด
 ้
 ี
 มารับงานบางอย่างต่อก็ได้ ในการจัดทำประกันภัยเพื่อคุ้มครองการก่อสร้างอาคารสูงแห่งน บริษัทประกันภัยก็จะ  ใหม่ภายในบริเวณโรงงาน ซึ่งมีเครื่องจักรและทรัพย์สินอื่นอยู่เป็นจำนวนมาก
 ออกกรมธรรม์ประกันภัยการปฏิบัติงานตามสัญญาการก่อสร้าง โดยมีความคุ้มครองทั้ง 3 ส่วน คือ   2) ค่าใช้จ่ายในการขนย้ายซากทรัพย์สินที่เอาประกันภัย (Clearance of Debris) เช่น กรณีเกิดไฟไหม ้
 ส่วนที่ 1: งานก่อสร้างและงานวิศวกรรมโยธา (Building and Civil Engineering Works)    โรงงานที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง เมื่อเพลิงสงบแล้วจะมีซากทรัพย์สินที่ถูกเพลิงไหม้เสียหาย ซึ่งจำเป็นจะต้องจ้างคน
 ส่วนที่ 2: การติดตั้งเครื่องจักร (Machinery Erection)    มาทำการรื้อถอน และขนย้ายซากเหล่านั้นออกไปจากสถานที่เอาประกันภัย
 ส่วนที่ 3: ความรับผิดต่อบุคคลภายนอก (Third Party Liability)    3) ค่าวิชาชีพสำหรับสถาปนิก พนักงานสำรวจ และวิศวกรที่ปรึกษา (Architects’, Surveyors’ and
 ในทางปฏิบัติ เนื่องจากผู้รับเหมาแต่ละรายอาจจะได้รับเพียงบางงานของโครงการ เช่น งานก่อสร้าง  Consulting Engineers’ Fees) ผู้เอาประกันภัยจำเป็นต้องจ่ายด้วยความเห็นชอบของบริษัท เพื่อสร้างขึ้นใหม่หรือ
                                                                ี
 อาคาร หรืองานติดตั้งระบบลิฟต์เท่านั้น บริษัทประกันภัยก็จะรับประกันภัยเฉพาะงานที่ผู้รับเหมารายนั้นต้องการ   เปลี่ยนใหม่แทนทรัพย์สินที่เอาประกันภัย ซึ่งได้รับความเสยหายจากภัยที่คุ้มครองตามกรมธรรม์ประกันภัย เช่น
 จะเอาประกันภัย จึงทำให้เกิดชื่อเรียกของการประกันภัยอีก 2 แบบย่อย ภายใต้การประกันภัยการปฏิบัติงาน      กรณีเกิดไฟไหม้โรงงานที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง จะต้องมีการว่าจ้างสถาปนิกมาทำการออกแบบใหม่ ตลอดจน

 ตามสัญญาการก่อสร้าง คือ   ว่าจ้างวิศวกรที่ปรึกษาเพื่อมาให้คำปรึกษาในส่วนของเครื่องจักรซึ่งถูกไฟไหม้เสียหายและจำเป็นต้องเปลี่ยนใหม  ่
 1) การประกันภัยความเสี่ยงภัยทุกชนิดของผู้รับเหมา (Contractor’s All Risks Insurance: CAR.)    เป็นต้น
 ในกรณีที่เป็นผู้รับเหมาในส่วนของงานก่อสร้างฐานราก ตัวอาคาร งานโครงสร้าง และ/หรือ                       ตัวอย่างความเสียหายจากงานก่อสร้าง หรืองานติดตั้งเครื่องจักรที่ได้รับการคุ้มครอง เช่น การเกิดไฟไหม ้
 งานสถาปัตยกรรมเท่านั้น บริษัทประกันภัยก็จะออกกรมธรรม์ประกันภัยการปฏิบัติงานตามสัญญาการก่อสร้าง โดย  ภายในสถานที่ก่อสร้าง การโจรกรรมวัสดุก่อสร้างซึ่งเก็บอยู่ในคลังเก็บวัสดุ การเกิดน้ำท่วม การเกิดอุบัติเหตุจาก

                                                                                                     ื่
 มีความคุ้มครอง ส่วนที่ 1: งานก่อสร้างและงานวิศวกรรมโยธา และ ส่วนที่ 3: ความรับผิดต่อบุคคลภายนอก   ความประมาทเลินเล่อของคนงานซึ่งกำลังก่อสร้างอาคารสูง และทำวัสดุก่อสร้างหล่นใส่หลังคาบ้านของผู้อนที่อยู่ติด
 2) การประกันภัยการเสี่ยงภัยทุกชนิดในการติดตั้งเครื่องจักร (Erection All Risks Insurance: EAR.)    กับสถานที่ก่อสร้างเสียหาย เป็นต้น
                                    ้
 ในกรณีที่เป็นผู้รับเหมาในส่วนของงานติดตั้งเครื่องจักร งานติดตั้งระบบลิฟต์ ระบบบันไดเลื่อน ระบบไฟฟา      การประกันภัยนเหมาะสำหรับเจ้าของโครงการก่อสร้าง ผู้ว่าจ้าง ผู้รับเหมาก่อสร้างขนาดใหญ่ซึ่งเป็น
                                    ี
 ้
                                                                                                           ั
 ระบบดับเพลิง ระบบสุขาภิบาล และ/หรือ ระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ เท่านั้น บริษัทประกันภัยก็จะออกกรมธรรม ์  ผู้รับเหมาหลัก ผู้รับเหมาในโครงการ ผู้ซื้อเครื่องจักร ผู้ผลิตเครื่องจักร ผู้จำหน่ายเครื่องจักร บริษัทที่ได้รบ
 ประกันภัยการปฏิบัติงานตามสัญญาการก่อสร้าง โดยมีความคุ้มครอง ส่วนที่ 2: การติดตั้งเครื่องจักร และ ส่วนที่ 3:   มอบหมายให้ติดตั้งเครื่องจักร
 ความรับผิดต่อบุคคลภายนอก
    ความคุ้มครอง         4.2.2 การประกันภัยความเสี่ยงภัยทุกชนิดของเครื่องมือและเครื่องจักรของผู้รับเหมา
 ั
 ่
    ทั้งในส่วนของงานก่อสร้าง และงานวิศวกรรมโยธา และการติดตั้งเครืองจกร ให้การคุ้มครองความเสียหาย  (Contractor Plant & Machinery Insurance: CPM)
                                                                                                           ั
                                            ี
                                            ่
 ื
 ต่อทรัพย์สินที่เอาประกันภัยตามที่ระบุไว้ในกรมธรรม์ประกันภัยแบบสรรพภัย (All Risks Basis) จากอุบัติเหตุหรอ  เป็นการประกันภัยทคุ้มครองความสูญเสียหรือความเสียหายของเครื่องมือและเครื่องจักรอน
 เหตุการณ์อันไม่อาจคาดหมายได้ หรือด้วยสาเหตุใดก็ตามที่ไม่ได้ระบุในข้อยกเว้นซึ่งเกิดขึ้นในระหว่างระยะเวลา    เนื่องมาจากอุบัติเหตุในระหว่างการทำงาน ระหว่างการหยุดพัก ระหว่างการถอดออกเพื่อทำความสะอาด การยก
 เอาประกันภัย   เครื่องหรือการประกอบเข้าที่ หรือระหว่างการเคลื่อนย้ายภายในสถานที่เอาประกันภัย เช่น ไฟไหม้ ฟ้าผ่า การชน
    สำหรับความรับผิดต่อบุคคลภายนอก ให้การคุ้มครองความสูญเสียหรือความเสียหายต่อการบาดเจ็บทาง  กัน การพลิกคว่ำ โจรกรรม รวมถึงภัยธรรมชาติและภัยต่าง ๆ ที่มิได้ระบุเป็นข้อยกเว้นในกรมธรรม์ประกันภัย
                                                                                                  ี
                                                                                                  ่
 ์
 ร่างกาย การเสียชีวิต หรือความเจ็บป่วย ตลอดจนความสูญเสียหรือความเสียหายต่อทรัพยสินของบุคคลภายนอก   ตัวอย่างเครื่องจักรกลและอุปกรณ์ที่ใช้ในการก่อสร้างทั้งแบบเคลื่อนที่หรือติดตั้งอยู่กับทที่สามารถจะ
 ซึ่งเกิดขึ้นในระหว่างระยะเวลาเอาประกันภัย โดยมีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับการปฏิบัติงานตามสัญญาว่าจ้างที่ได ้  เอาประกนภัยน เช่น ปั้นจั่นหอสูง (Tower Crane) ปั้นจั่นเคลื่อนที่ได้ (Mobile Crane) รถปั้นจั่นตีนตะขาบ (Crawler
                      ั
                           ้
                           ี
 เอาประกันภัยไว้ และเกิดขึ้น ณ สถานที่เอาประกันภัย หรือในบริเวณที่ติดกันกับสถานที่ดังกล่าว   Crane) รถตัก (Loader) รถขุด (Excavator) รถยก (Forklift) โรงงานผสมคอนกรีต (Concrete Batching Plant)
    การกำหนดจำนวนเงินเอาประกันภัยสำหรับ ส่วนที่ 1 และส่วนที่ 2
    ส่วนที่ 1: งานก่อสร้างและงานวิศวกรรมโยธา สำหรับงานก่อสร้าง และวัสดุหรือสิ่งของต่าง ๆ ซึ่งผู้ว่าจ้าง     การประกันภัยนเหมาะสำหรับเจ้าของ หรือผู้ให้เช่าเครื่องมือและเครื่องจักรที่ใช้รับเหมา หรือใช้
                                           ้
                                           ี
 งานจัดหาให้ กำหนดจากมูลค่าเต็มของงานตามสัญญา ณ เวลาที่ได้ก่อสร้างเสร็จสมบูรณ์แล้ว โดยรวมถึงวัสดุ ค่าจ้าง  ในการก่อสร้างตามสถานที่ต่าง ๆ
 แรงงาน ค่าขนส่ง ค่าภาษีศุลกากร และมูลค่าวัสดุหรือสิ่งของต่าง ๆ ซึ่งผู้เป็นเจ้าของงานจัดหาให้
    ส่วนที่ 2: การติดตั้งเครื่องจักร ทรัพย์สินที่จะทำการติดตั้ง กำหนดจากมูลค่าเต็มของงานตามสัญญา        4.2.3 การประกันภัยเครื่องจักร (Machinery Breakdown Insurance: MB)

 ่
 ณ เวลาที่ได้ติดตั้งเสร็จสมบูรณ์แล้ว ซงรวมทั้งค่าระวางขนส่ง ค่าภาษีศุลกากร และค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ตลอดจน  เป็นการประกันภัยทคุ้มครองความสูญเสียหรือความเสียหายแก่เครื่องจักร และอุปกรณ์ที่ได้ระบุไว้ใน
                                          ี
                                          ่
 ึ
                                                                                                            ิ
 ค่าใช้จ่ายในการติดตั้ง   กรมธรรม์ประกันภัย เช่น เครื่องจักรที่ใช้ในการผลิต เครื่องจักรหรืออุปกรณ์ที่ติดตั้งในอาคาร เช่น เครื่องกำเนด
    นอกเหนือจากการเอาประกันภัยงานตามสัญญาว่าจ้างที่ได้อธิบายข้างต้นแล้ว ผู้เอาประกันภัยยังสามารถ  ไฟฟ้า โดยคุ้มครองแบบสรรพภัย (All Risks Basis) สำหรับเครื่องจักรที่ได้ติดตั้งเรียบร้อย และผ่านการทดสอบ
                                                                                      ื่
                                      ่
                                      ึ
 จะเอาประกันภัยหรือขยายความคุ้มครองดังต่อไปนี้   เดินเครื่องแล้วโดยสมบูรณ์ ซงผู้เอาประกันภัยได้ใช้งานอยู่ หรือพักงาน หรือขณะถอดเพอทำความสะอาด ปรับปรุง
                                   ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
                                       ์
                                      ิ
                                    ิ
                                                        ั
                                                             ้
                                                               ํ
                                       ิ
                                                  ั
                                                    ิ
   235   236   237   238   239   240   241   242   243   244   245