Page 236 - InsuranceHandbook
P. 236
บทที่ 18 ประเภทของการประกันวินาศภัย 217
หมวดที่ 5: คุ้มครองประกันภัยโจรกรรม สำหรับความสูญเสียหรือความเสียหายต่อทรัพย์สิน ภายในสิ่ง 1.2) คุ้มครองความสูญเสียของเงินขณะที่อยู่ในสถานที่เอาประกันภัยจนกระทั่งจ่ายออกไป
ปลูกสร้าง (นอกเหนือจากเงินสด) และความเสียหายต่ออาคารอันเกิดจากการลักทรัพย์ที่ปรากฏร่องรอยงัดแงะ การ หากอยู่นอกเวลาทำงาน เงินที่เหลือจากการจ่ายทั้งหมดต้องเกบไว้ในตู้นิรภัยหรือห้องนิรภัยซึ่งได้ปิดล็อคไว้เรียบร้อย
็
ชิงทรัพย์ การปล้นทรัพย์ ตามระบบของตู้นิรภัย หรือห้องนิรภัยชนิดนั้น ๆ
หมวดที่ 6: คุ้มครองความรับผิดตามกฎหมายต่อบุคคลภายนอก กรณีบุคคลภายนอกได้รบ 2) ความสูญเสียของเงินภายในสถานที่เอาประกันภัย คุ้มครองความสูญเสียของเงินที่อยู่ในสถานที่
ั
ความเสียหาย (บาดเจ็บ เจ็บป่วย เสียชีวิต และทรัพย์สิน) จากการเข้ามาในสถานประกอบธุรกิจของผู้เอาประกันภัย เอาประกันภัยและอยู่ในเวลาทำงาน
รวมถึงค่าใช้จ่ายในการต่อสู้คดี 3) ความสูญเสียของเงินภายในตู้นิรภัยหรือห้องนิรภัย คุ้มครองความสูญเสียของเงินนอกเวลา
หมวดที่ 7: คุ้มครองประกันภัยอุบัติเหตุส่วนบคคลของผู้เอาประกันภัยกรณีเสียชีวิต หรือทุพพลภาพถาวร ทำงานขณะเก็บไว้ในตู้นิรภัย หรือห้องนิรภัยที่ปิดล็อคไว้เรียบร้อย
ุ
สิ้นเชิง และเงินชดเชยรายวันกรณีผู้เอาประกันภัยเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาล (ผู้ป่วยใน) จากอุบัติเหตุทั่วโลก 4) ความสูญเสียของเงินภายนอกสถานที่เอาประกันภัย คุ้มครองความสูญเสียของเงินขณะขนส่ง
5) ความเสียหายต่อตู้นิรภัยหรือห้องนิรภัย คุ้มครองความเสียหายต่อตู้นิรภัย ห้องนิรภัย ตัวอาคาร
การประกันภัยนี้เหมาะสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) เช่น ร้านค้าปลีก ของสถานที่เอาประกันภัยและทรัพย์สินอื่น ๆ จากการชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ การโจรกรรมเงินจากตู้นิรภัย ห้องนิรภัย
ทั่วไป ร้านทำผม ร้านกาแฟ สำนักงานขนาดเล็ก โรงเรียนกวดวิชา สถาบันสอนดนตรี ศิลปะและการแสดงต่าง ๆ หรือความพยายามกระทำการดังกล่าว
เป็นต้น โดยมีข้อตกลงคุ้มครอง 3 แบบให้ผู้เอาประกันภัยเลือก ดังนี้
1) แบบ ปง.1 คุ้มครองเงินจากการชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ หรือความพยายามกระทำการดังกล่าว
4.1.6 การประกันภัยโจรกรรม (Burglary Insurance) 2) แบบ ปง.2 คุ้มครองเงินจากสาเหตุใดก็ตามที่ไมได้ระบุไว้ในข้อยกเว้นของกรมธรรม์ประกันภัย
่
เป็นการประกันภัยที่คุ้มครองความสูญเสียหรือความเสียหายต่อทรัพย์สนที่เอาประกันภัย เช่น ของใช้ 3) แบบ ปง.3 คุ้มครองเงินจากสาเหตุใดก็ตามที่ไม่ได้ระบุไว้ในข้อยกเว้นของกรมธรรม์ประกันภัย
ิ
ในบ้าน เครื่องใช้สำนักงาน เครื่องตกแต่ง เฟอร์นิเจอร์ เครื่องใช้สำนักงาน สต็อกสินค้า เป็นต้น ที่เกิดจาก การ รวมถึงการฉ้อโกงหรือยักยอกโดยพนักงานรับส่งเงิน หรือผู้รักษาทรัพย ที่สามารถค้นพบได้ภายใน 3 วันทำงานถด
ั
์
้
กระทำของคนร้ายซึ่งเป็นบคคลภายนอก นอกจากน การประกันภัยโจรกรรมยังให้ความคุ้มครองถึงความเสียหายต่อตัว จากวันที่กระทำการฉ้อโกง หรือยักยอก
ุ
ี
อาคารซึ่งเก็บทรัพย์สินที่เอาประกันภัยอันเกิดจากการกระทำของคนร้ายด้วย โดยมีข้อตกลงคุ้มครอง 3 แบบ ให้
้
ผู้เอาประกันภัยเลือก ดังนี้ การประกันภัยสำหรับเงินเหมาะกับเจ้าของธุรกิจ เช่น ผู้ประกอบธุรกิจโรงแรม ห้างสรรพสินคา
1) แบบ จร.1 การลักทรัพย์ที่ปรากฏร่องรอยงัดแงะ สถาบันการเงิน สถานีบริการน้ำมัน ร้านสะดวกซื้อ เป็นต้น
2) แบบ จร.2 การลักทรัพย์ที่ปรากฏร่องรอยงัดแงะ การชิงทรัพย์ การปล้นทรัพย์
ั
3) แบบ จร.3 การลักทรัพย์ การชิงทรัพย์ การปล้นทรัพย์ เป็นแบบที่ให้ความคุ้มครองเช่นเดียวกบ 4.1.8 การประกันภัยความซื่อสัตย์ของลูกจ้าง (Fidelity Guarantee Insurance)
แบบ จร.2 แต่ไม่จำเป็นต้องปรากฏร่องรอยงัดแงะ เป็นการประกันภัยที่ชดเชยความเสียหายทางการเงินที่เกิดขึ้นแก่นายจ้างในกรณีลูกจ้างคนใดกระทำ
การกำหนดจำนวนเงินเอาประกันภัยสำหรับการประกันภัยโจรกรรมมี 2 แบบ คือ การทุจริต หรือยักยอกเงิน หรือทรัพย์สินต่าง ๆ ของนายจ้าง ไม่ว่าจะเป็นการกระทำโดยลำพัง หรือสมรู้ร่วมคิดกับ
1) แบบเต็มมูลค่า (Full Value Basis) เหมาะสำหรับการเอาประกันภัยโจรกรรมทรัพย์สินใน ผู้อื่น สำหรับความสูญเสียหรือความเสียหายที่เกิดขึ้นในระหว่างระยะเวลาการจ้างงานของลูกจ้างนั้นในการปฏิบัต ิ
บ้านหรือในร้านค้า ซึ่งมีโอกาสที่คนร้ายอาจจะโจรกรรมทรัพย์สินที่มีอยู่ทั้งหมดไปได้ หน้าที่ หรืออาชีพตามที่จ้าง
ื
2) แบบความเสียหายส่วนแรก (First Loss Basis) เหมาะสำหรับการเอาประกันภัยโจรกรรม การเอาประกันภัยความซื่อสัตย์ของลูกจ้างนี้อาจจะเลือกคุ้มครองเฉพาะพนักงานบางตำแหน่ง หรอ
ี่
ทรัพย์สินในโกดังหรือคลังสินค้าซึ่งมีอยู่เป็นจำนวนมาก และมีโอกาสน้อยมากทคนร้ายจะสามารถโจรกรรมทรัพย์สิน คุ้มครองพนักงานทุกคนในองค์กรก็ได้
ที่มีอยู่ทั้งหมดนั้นไปได้ในครั้งเดียว การประกันภัยนี้เหมาะสำหรับธุรกิจซึ่งมีพนักงานหรอลูกจางที่เกี่ยวข้องกับการรบจายเงินการควบคม
ื
ุ
ั
่
้
การเบิกจ่ายสต็อกสินค้า
้
ี
การประกันภัยนเหมาะสำหรับเจ้าของทรัพย์สินในสิ่งปลูกสร้างซึ่งใช้เป็นที่อยู่อาศัย เช่น บ้าน
ทาวน์เฮาส์ บ้านแฝด ตึกแถวสำหรับอยู่อาศัย ห้องชุดสำหรับอยู่อาศัยในแฟลต อาคารชุด คอนโดมิเนียม ตลอดจน 4.1.9 การประกันภัยป้ายไฟนีออน ป้ายโฆษณา (Neon Advertising Sign Insurance)
ผู้ประกอบธุรกิจต่าง ๆ เช่น ร้านค้าย่อย ร้านสะดวกซื้อ โกดัง หรือคลังสินค้า เป็นต้น เป็นการประกันภัยที่คุ้มครองความเสียหายซึ่งอาจจะเกิดขึ้นต่อป้ายไฟนีออน และป้ายโฆษณาที่ติด
ตั้งอยู่หน้าร้าน ริมถนน ริมทางด่วน หรือบนอาคารสูง รวมถึงการคุ้มครองความรับผิดตามกฎหมายของเจ้าของป้าย
4.1.7 การประกันภัยสำหรับเงิน (Money Insurance) ต่อบุคคลภายนอก ในกรณีที่ป้ายล้มลงหรือมีส่วนใดส่วนหนึ่งของป้ายไปทำให้บุคคลภายนอกได้รับบาดเจบ
็
ื
่
ี
เป็นการประกันภัยทคุ้มครองเงิน ซึ่งผู้เอาประกันภัยสามารถเลอกซื้อความคุ้มครองอย่างใดอย่างหนึ่งหรอ ทางร่างกาย เสียชีวิต และ/หรือ ทรัพย์สินเสียหาย
ื
ี
ทั้งหมดก็ได้ดังต่อไปนี้ ความคุ้มครองหลักของการประกันภัยป้ายไฟนออน ป้ายโฆษณามี 2 ส่วน คือ
1) การสูญเสียของเงินเพื่อจ่ายค่าจ้าง และ/หรือ เงินเดือน 1) ความเสียหายต่อทรัพย์สิน (ป้ายและโครงสร้างของป้าย ไม่รวมฐานราก) บริษัทจะชดใช้
ั
1.1) คุ้มครองความสูญเสียของเงินระหว่างการขนส่งสู่สถานที่เอาประกันภัย เพื่อจ่ายค่าจ้าง ค่าสินไหมทดแทนสำหรับความเสียหายต่อตัวป้ายหรือโครงสร้างอันเกิดจากอัคคีภัย ฟ้าผ่า ภัยระเบิด การลักทรพย ์
และ/หรือ เงินเดือนให้แก่ลูกจ้างของผู้เอาประกันภัย และสาเหตุภายนอกใด ๆ ก็ตามที่เกิดขึ้นโดยไม่เจตนา
ิ
์
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
ั
้
ํ
ิ
ั
ิ