Page 268 - InsuranceHandbook
P. 268
บทที่ 18 ประเภทของการประกันวินาศภัย 249
๊
สินค้าโครงการจะเกี่ยวข้องโดยตรงกับโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ เช่น โรงไฟฟ้าที่ใช้พลังงานจากแกส 5.13 การประกันภัยของสะสมประเภทศิลปวัตถุ (Fine Art Insurance)
ธรรมชาติหรือถ่านหิน โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ โรงกลั่นน้ำมัน โรงงานปิโตรเคมี การก่อสร้างระบบโครงสร้าง เป็นการประกันภัยที่คุ้มครองความสูญเสียหรือเสียหายสำหรับศิลปวัตถุ ของสะสมต่าง ๆ จากการโจรกรรม
พื้นฐาน เช่น ทางด่วน รถไฟฟ้าใต้ดิน รถไฟฟ้าบนดิน สะพาน เขื่อน เป็นต้น ภัยธรรมชาติ ไฟไหม้ การระเบิด อุบัติเหตุ เช่น ตก หล่น โดนชน กระแทก เป็นต้น สามารถนำเสนอประกันภัยนี้
่
ั
สินค้าโครงการ (Project Cargo) เหล่านี้มีความเสี่ยงทบาง Shipment อาจจะมาถึงสถานที่ก่อสร้างไม่ทน แบบทรัพย์สินส่วนตัว (Private Collection) ด้วย
ี
ตามกำหนดเวลาที่วางไว้ หรือเกิดอุบัติเหตุบางอย่างจนทำให้เกิดความเสียหายโดยสิ้นเชิงต่อสินค้า ยิ่งถ้าเป็นสินค้าที่
มีความสำคัญขั้นวิกฤต (Critical Shipment) ก็สามารถจะทำให้โครงการก่อสร้างนั้นเกิดความล่าช้าอย่างมีนัยสำคัญ การประกันภัยนี้เหมาะสำหรับพิพิธภัณฑ์และหอศิลป์ที่สะสมงานศิลปะ รูปภาพ และงาน Fine Art
ซึ่งจะนำไปสู่การสูญเสียรายได้หรือกำไรที่ควรจะได้รับหากธุรกิจสามารถเปิดดำเนินกิจการได้ตามกำหนดที่วางไว้
ตลอดจนการที่โครงการยังอาจจะต้องจ่ายค่าใช้จ่ายประจำ (Fixed Cost) บางอย่าง เช่น ค่าเช่าสถานที่ ดอกเบี้ย 5.14 การประกันภัยความรับผิดตามกฎหมายอันเกิดจากผลิตภัณฑ์ (Product Liability Insurance)
่
ี
เงินกู้ให้แก่สถาบันการเงินต่อไป ผลิตภัณฑ์ (Product) หมายถึง อะไรก็ตามทถูกผลิต (manufactured) ยกตั้ง (erected) ติดตั้ง (installed)
การประกันภัยการขนส่งสินค้าโครงการ (Project Cargo Insurance) เป็นการประกันภัยซึ่งสามารถรวม ซ่อมแซม (repaired) ให้บริการ (serviced) ดูแลรักษา (treated) จำหน่าย (sold) หรือกระจายการจำหน่าย
การคุ้มครองต่อไปนี้ไว้ในกรมธรรม์ประกันภัยเพียงฉบับเดียว (distributed) โดยผู้เอาประกันภัย (รวมถึงหีบห่อของสิ่งเหล่านั้นด้วย)
ู
1) การประกันภัยการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ (Marine Cargo Insurance) สำหรับทุกเที่ยวการส่ง ตัวอย่างของผลิตภัณฑ์ที่มีความเสี่ยงสง ได้แก่ ของเล่นเด็ก ชิ้นส่วนของเครื่องบิน เครื่องมือทางการแพทย ์
สินค้า (Shipment) จากผู้ผลิตหรือผู้จำหน่ายในหลายประเทศ และในหลายรูปแบบของการขนส่งทั้งทางเรอ ยา สารเคมี เฟอร์นิเจอร์ ยานยนต์และชิ้นส่วน และสินค้าที่มีอายุใช้งานนาน
ื
ทางบก ทางอากาศ ตลอดจน Courier จนกระทั่งสินค้าที่เอาประกันภัยนั้นเดินทางมาถึงสถานที่ก่อสร้าง ซึ่งส่วนมาก การประกันภัยความรับผิดตามกฎหมายอันเกิดจากผลิตภัณฑ์ เป็นการประกันภัยที่คุ้มครองความรับผิดตาม
ผู้เอาประกันภัยจะเลือกซื้อการคุ้มครองแบบสรรพภัยภายใต้เงื่อนไข Institute Cargo Clauses (A) หรือ ICC(A) กฎหมายและค่าใช้จ่ายในการต่อสู้คดีอันเกิดจากผลิตภัณฑ์ของผู้เอาประกันภัยก่อให้เกิดความบาดเจ็บหรือเจ็บป่วย
2) การประกันภัยการสูญเสียกำไรล่วงหน้า หรือการประกันภัยกำไรที่คาดว่าจะได้รับ (Advance Loss ต่อผู้บริโภค หรือทำให้ทรัพย์สินของผู้บริโภคเสียหายจากการใช้สินค้าของผู้เอาประกันภัย ภายหลังจากที่ผลิตภัณฑ์
ื
่
้
of Profit: ALOP หรือ Delay in Start Up: DSU) เป็นการประกันภัยธุรกิจหยุดชะงักประเภทหนึ่งซึ่งจะให้ ได้ออกจากสถานประกอบการไปแลว และอยู่ภายใต้การควบคุมหรือการใช้ของบุคคลอนซึ่งไม่ใช่ผู้เอาประกันภัย
์
ความคุ้มครองธุรกิจที่เพิ่งเริ่มกิจการใหม่สำหรับการสูญเสียกำไรขั้นต้นที่คาดว่าจะได้รับจากความล่าช้าในการเรม นอกจากนั้นบางบริษัทยังครอบคลุมค่าใช้จ่ายในการเรียกคืนผลิตภัณฑ (Product Recall Expenses) ด้วย
ิ
่
ดำเนินกิจการ (หรือการชักช้าในการเริ่มต้น) และทำใหไม่สามารถเปิดดำเนินกิจการได้ตามกำหนดที่วางไว้ เช่น เนื่องจากผู้ประกอบการในประเทศไทยซึ่งเป็นผู้ผลิต ผู้นำเข้า และผู้จำหน่ายสินค้ามีทางเลือกที่จะ
้
์
ถ้าเป็นการเอาประกันภัยกำไรขั้นต้นที่คาดไว้ (Anticipated Gross Profit) ของธุรกิจที่เพิ่งเริ่มกิจการใหม ก็จะให้ เอาประกันภัยตามกรมธรรมประกันภัยความรับผิดตามกฎหมายอันเกิดจากสินค้าไม่ปลอดภัย การประกันภัย
่
์
ความคุ้มครองจำกัดเฉพาะการสูญเสียกำไรขั้นต้นที่แท้จริง (Actual Loss of Gross Profit) จากความล่าช้าของ ความรับผิดตามกฎหมายอันเกิดจากผลิตภัณฑนี้จึงเหมาะสำหรับผู้ผลิตหรือผู้จัดจำหน่ายซึ่งเป็นผู้ส่งออก
ึ
โครงการก่อสร้างอันเนื่องมาจากการลดลงของยอดรายได้ (Reduction in Turnover) และการเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่าย (Exporter) สินค้าไปต่างประเทศ ซ่งในสัญญาซื้อขายกำหนดให้ต้องทำประกันภัยนี้
ในการดำเนินกิจการ (Increase in Cost of Working) เป็นต้น โดยมีเงื่อนไขสำคัญ คือ จะต้องเป็นผลมาจากภัยท ่ ี
เกิดขึ้นในระหว่างการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ และทำให้เกิดความล่าช้าของโครงการขึ้น และจะต้องเป็นภัยที่ 5.15 การประกันภัยความรับผิดตามกฎหมายอันเกิดจากวิชาชีพ (Professional Indemnity Insurance: PI)
่
่
่
ได้รับความคุ้มครองภายใต้กรมธรรม์ประกันภัยการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศซึ่งได้จัดทำไว้กับผู้รับประกันภัยราย เป็นการประกันภัยที่คุ้มครองความรับผิดทางแพง (Civil Liability) ของผู้ประกอบวิชาชีพ และคาใช้จายใน
เดียวกันด้วย การต่อสู้คดีอันเกิดจากการกระทำประมาทเลินเล่อในการประกอบวิชาชีพนั้น ๆ เช่น วิศวกร สถาปนิก มัณฑนากร
ทนายความ ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี ผู้สอบบัญชีสาธารณะ เป็นต้น เช่น การที่สถาปนิกออกแบบผิดพลาดและทำให ้
ั
การประกันภัยนี้เหมาะสำหรับเจ้าของโครงการ ผู้บริหารโครงการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน ผู้บริหาร อาคารที่มีการก่อสร้างตามแบบที่สถาปนิกผู้นั้นได้ออกแบบไว้เกิดถล่ม หรือเกิดความเสียหายตามมาในภายหลง
โครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ ผู้นำเข้า-ส่งออก ที่มีการขนย้ายสินค้าโครงการ ทนายความลืมไปศาลในวันนัดสืบพยานคดีของลูกความ เป็นต้น
5.12 การประกันภัยอัญมณีและทองคำ (Jewelers Block Insurance) การประกันภัยนี้เหมาะสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพต่าง ๆ (ยกเว้นผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์ซึ่งม ี
เป็นการประกันภัยทคุ้มครองความสูญเสียหรือความเสียหายของอัญมณีในขณะที่เก็บอยู่ในสถานท กรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดเฉพาะที่จะได้อธิบายต่อไป)
ี
่
่
ี
เอาประกันภัย การโจรกรรมทั้งที่มีร่องรอยและไม่มีร่องรอยแต่สามารถบ่งชี้รายละเอียดเหตุการณ์ได้ สามารถซอ
ื
้
์
ความคุ้มครองอื่น ๆ เพิ่มเติมได้ เช่น การจัดส่งอัญมณีไปยังลูกค้าโดยพนักงาน การนำอัญมณีไปฝากให้อยู่ในความ 5.16 การประกันภัยความรับผิดสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย หรือการประกันภัยความรับผิด
ควบคุมดูแลของบุคคลอื่น อัญมณีที่อยู่ระหว่างการจัดแสดงโชว์ ทางการแพทย์ (Medical Malpractice Insurance)
ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพของแต่ละสาขาที่เกี่ยวข้องสามารถสรุปได้ว่า “ผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์”
การประกันภัยนี้เหมาะสำหรับร้านอัญมณี โรงงานอัญมณี ร้านทอง โรงรับจำนำ หมายความถึง ผู้ประกอบโรคศิลปะ ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ผู้ประกอบวิชาชีพทันตกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพกายภาพบำบัด ผู้ประกอบวิชาชีพ
ื
เทคนิคการแพทย์ ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ หรอ
ผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์และสาธารณสุขอื่นตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
สาธารณสุขประกาศให้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์
ํ
ิ
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
์
ั
้
ั
ิ