Page 269 - InsuranceHandbook
P. 269

250   คู่มือประกันวินาศภัยไทย
             Thai General Insurance Handbook

                     ตามข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2549 ได้ให้คำนิยามของ

              คำต่อไปนี้ไว้ ดังนี้
                     “ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม” หมายความว่า บุคคลซึ่งได้ขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบ
              วิชาชีพเวชกรรมจากแพทยสภา
                     “ใบอนุญาต” หมายความว่า ใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมจากแพทยสภา

                     “วิชาชีพเวชกรรม” หมายความว่า วิชาชีพที่กระทำต่อมนุษย์เกี่ยวกับการตรวจโรค การวินิจฉัยโรค การ
              บำบัดโรค การป้องกันโรค การผดุงครรภ์ การปรับสายตาด้วยเลนส์สัมผัส การแทงเข็มหรือการฝังเข็มเพอบำบัดโรค
                                                                                                   ื่
              หรือเพื่อระงับความรู้สึก และหมายความรวมถึงการกระทำทางศัลยกรรม การใช้รังสี การฉีดยา หรือสสาร การสอด
              ใส่วัตถุใด ๆ เข้าไปในร่างกาย ทั้งนี้ เพื่อการคุมกำเนิด การเสริมสวย หรือการบำรุงร่างกายด้วย

                     ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมตามคำนิยามนครอบคลุมแพทย์ทุกแขนง เช่น อายุรแพทย์ สูตินรีแพทย     ์
                                                          ี
                                                          ้
              ศัลยแพทย์ จักษุแพทย์ แพทย์โสตศอนาสิก รังสีแพทย์ วิสัญญีแพทย์ กุมารแพทย์ เป็นต้น
                                                                                                   ุ
                     ความผิดพลาดในการให้บริการทางการแพทย (Medical Malpractice) ส่วนใหญมีสาเหตมาจากการ
                                                             ์
                                                                                           ่
              วินิจฉัยที่ล่าช้าเกินควร การวินิจฉัยผิดพลาดหรือวินิจฉัยไม่ได้ การปรึกษาหรือส่งต่อที่ล่าช้าเกินควร การประมาทใน
              การใช้ยา การประมาทในการทำหัตถการรวมทังการผ่าตัด การให้การรักษาโดยปราศจากใบคำยินยอมโดยไม่มเหต  ุ
                                                                                                         ี
                                                     ้
              อันควร การไม่ติดตามการรักษา ตลอดจนผลการรักษาที่ไม่ได้มาตรฐาน ซึ่งอาจทำให้คนไข้หรือญาติคนไข้ที่เสียชีวิต
              ฟ้องเรียกค่าเสียหายจากแพทย์ที่ให้การรักษา ตลอดจนโรงพยาบาลที่คนไข้ไปรับการรักษาพยาบาลด้วย เช่น

              ศัลยแพทย์ลืมผ้าก๊อซ หรือลืมกรรไกรไว้ในท้องของคนไข้หลังการผ่าตัด สูตินรีแพทย์ทำคลอดผิดพลาดทำใหเด็ก
                                                                                                         ้
              ทารก และ/หรือ มารดาเสียชีวิต วิสัญญีแพทย์ดมยาสลบให้คนไข้เกินขนาดจนทำให้คนไขไม่ฟื้น เป็นต้น
                                                                                       ้
                     ปัจจัยที่อาจนำมาพิจารณาว่าเป็นความผิดพลาดในการให้บริการทางแพทย์มีดังตอไปนี้
                                                                                       ่
                     1) ไม่ได้รับการดูแลที่เหมาะสมและถูกต้องตามมาตรฐาน
                     2) ได้รับบาดเจ็บจากความประมาทของผู้ให้บริการ

                     3) ได้รับการสูญเสียหรือความเสียหายอย่างต่อเนื่องจากอาการบาดเจ็บ
                     การประกันภัยความรับผิดสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์ หรือการประกันภัยความรับผิดทาง
                                                                                                           ื
                       ์
              การแพทย จะให้ความคุ้มครองความรับผิดตามกฎหมายสำหรับความบาดเจ็บต่อร่างกายหรือต่อจิตใจ หรอ
                                 ั
              การเสียชีวิตของคนไข้อนมีสาเหตุมาจากความผิดพลาด การละเว้น หรือการขาดความระมัดระวัง ในการดำเนินการ
                                                                               ่
              ให้บริการตามวิชาชีพทางการแพทย์ซึ่งกระทำโดยผู้เอาประกันภัยกรณีทมการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน
                                                                                ี
                                                                               ี
                                                                                                            ี
              จากบุคคลภายนอกซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเวลาที่เอาประกันภัย (รวมชดใช้ค่าธรรมเนียม และค่าใช้จ่ายในการต่อสู้คด
              การฟ้องร้องหรือการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน โดยความยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษรจากทางบริษัทประกันภัย)
                     การประกันภัยความรับผิดสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์ที่มีขายในประเทศไทย จะมีเงื่อนไข
              อาณาเขตความคุ้มครองภายในประเทศไทย คือ ต้องเป็นการให้การรักษาพยาบาลในประเทศไทย และจะต้องเปน
                                                                                                           ็
              ความรับผิดตามกฎหมายที่เกิดจากคำพิพากษาหรือกระบวนการยุติธรรมของศาลไทยเท่านั้น
                                                                                            ุ้
                     นอกจากนั้นผู้เอาประกันภัยควรตรวจสอบว่ามีข้อยกเว้นอะไรบ้างในกรมธรรม์ เช่น ไม่คมครองศัลยกรรม
              เพื่อความงามโดยเฉพาะ เป็นต้น

                      การประกันภัยนี้เหมาะสำหรับ
                     1) ผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์ที่ต้องการความคุ้มครองเฉพาะรายบุคคล เช่น กุมารแพทย์ ศัลยแพทย์

              สูตินรีแพทย์ เป็นต้น
                     2) โรงพยาบาลซึ่งจะต้องระบุในใบคำขอเอาประกันภัยให้ชัดเจนว่า ต้องการให้คุ้มครองผู้ประกอบวิชาชีพ
              ทางการแพทย์สาขาใดหรือประเภทใดในโรงพยาบาลแห่งนั้นบ้าง



                                       ์
                                                        ั
                                       ิ
                                                  ั
                                                    ิ
                                   ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
                                                               ํ
                                                             ้
                                      ิ
                                    ิ
   264   265   266   267   268   269   270   271   272   273   274