Page 270 - InsuranceHandbook
P. 270

บทที่ 18 ประเภทของการประกันวินาศภัย    251


 ตามข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2549 ได้ให้คำนิยามของ      6.  การประกันภัยสำหรับรายย่อย (ไมโครอินชัวรันส์) [Insurance for Minor (Micro Insurance)]

 คำต่อไปนี้ไว้ ดังนี้   สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) ได้มีการสนับสนุนและ
 “ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม” หมายความว่า บุคคลซึ่งได้ขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบ  ส่งเสริมให้มีการออกผลิตภัณฑ์ประกันวินาศภัยที่เป็นการประกันภัยสำหรับรายย่อย (ไมโครอินชัวรันส์) อย่าง
 วิชาชีพเวชกรรมจากแพทยสภา    หลากหลายมากขึ้น
 “ใบอนุญาต” หมายความว่า ใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมจากแพทยสภา   ไมโครอินชัวรันส (Micro Insurance) คือ การประกันภัยที่เหมาะสำหรับผู้มีรายได้น้อย กรมธรรม ์
                                     ์
 “วิชาชีพเวชกรรม” หมายความว่า วิชาชีพที่กระทำต่อมนุษย์เกี่ยวกับการตรวจโรค การวินิจฉัยโรค การ  ประกันภัยชนิดนี้มีลักษณะพิเศษ คือ ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย ความคุ้มครองไม่ซับซ้อน มีขั้นตอนการเรียกร้องค่าสินไหม
 บำบัดโรค การป้องกันโรค การผดุงครรภ์ การปรับสายตาด้วยเลนส์สัมผัส การแทงเข็มหรือการฝังเข็มเพอบำบัดโรค  ทดแทนที่ไม่ยุ่งยาก การรับประกันภัยจึงต้องมีต้นทุนการดำเนินการที่ต่ำด้วยเพื่อให้เบี้ยประกันภัยสามารถ
 ื่
 หรือเพื่อระงับความรู้สึก และหมายความรวมถึงการกระทำทางศัลยกรรม การใช้รังสี การฉีดยา หรือสสาร การสอด  ครอบคลุมค่าสินไหมทดแทนที่จะเกิดขึ้น โดยออกใบรับรองการประกันภัยแทนกรมธรรม์ประกันภัย และขยายช่อง
 ใส่วัตถุใด ๆ เข้าไปในร่างกาย ทั้งนี้ เพื่อการคุมกำเนิด การเสริมสวย หรือการบำรุงร่างกายด้วย   ทางการจำหน่ายที่หลากหลายทั้งกับบริษัทประกันวินาศภัย ตัวแทนประกันวินาศภัย นายหน้าประกันวินาศภัย และ

 ี
 ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมตามคำนิยามนครอบคลุมแพทย์ทุกแขนง เช่น อายุรแพทย์ สูตินรีแพทย  ์  ผ่านร้านสะดวกซื้อที่ได้รับใบอนุญาตเป็นนายหน้าประกันวินาศภัยประเภทนิติบุคคลด้วย
 ้
 ศัลยแพทย์ จักษุแพทย์ แพทย์โสตศอนาสิก รังสีแพทย์ วิสัญญีแพทย์ กุมารแพทย์ เป็นต้น    คุณลักษณะของการประกันภัยสำหรับรายย่อย (ไมโครอินชัวรันส์) ใช้พื้นฐานเดียวกับหลักการประกันภัย
 ่
 ุ
 ความผิดพลาดในการให้บริการทางการแพทย (Medical Malpractice) ส่วนใหญมีสาเหตมาจากการ  โดยผู้เอาประกันภัยจ่ายเบี้ยประกันภัยเพื่อแลกเปลี่ยนกับค่าสินไหมทดแทนที่ผู้เอาประกันภัยจะได้เป็นค่าชดเชยจาก
 ์
 วินิจฉัยที่ล่าช้าเกินควร การวินิจฉัยผิดพลาดหรือวินิจฉัยไม่ได้ การปรึกษาหรือส่งต่อที่ล่าช้าเกินควร การประมาทใน  ความเสียหายที่เกิดขึ้น ลักษณะสำคัญของไมโครอินชัวรันส์ คือ
 ้
 การใช้ยา การประมาทในการทำหัตถการรวมทังการผ่าตัด การให้การรักษาโดยปราศจากใบคำยินยอมโดยไม่มเหต ุ
 ี
 อันควร การไม่ติดตามการรักษา ตลอดจนผลการรักษาที่ไม่ได้มาตรฐาน ซึ่งอาจทำให้คนไข้หรือญาติคนไข้ที่เสียชีวิต  1) การเข้าถึง (Accessibility) กลุ่มเป้าหมายของไมโครอินชัวรันส์ คือ กลุ่มผู้มีรายได้ต่ำและรายได ้
 ฟ้องเรียกค่าเสียหายจากแพทย์ที่ให้การรักษา ตลอดจนโรงพยาบาลที่คนไข้ไปรับการรักษาพยาบาลด้วย เช่น   ไม่คงที่ จึงไม่สามารถซื้อผลิตภัณฑ์ประกันภัยแบบดั้งเดิมได้

 ้
 ศัลยแพทย์ลืมผ้าก๊อซ หรือลืมกรรไกรไว้ในท้องของคนไข้หลังการผ่าตัด สูตินรีแพทย์ทำคลอดผิดพลาดทำใหเด็ก  2) ความสามารถในการจ่ายเบี้ยประกันภัย (Affordability) ค่าเบี้ยประกันภัย และความคุ้มครอง
 ทารก และ/หรือ มารดาเสียชีวิต วิสัญญีแพทย์ดมยาสลบให้คนไข้เกินขนาดจนทำให้คนไขไม่ฟื้น เป็นต้น   อยู่ในระดับไม่สูงมาก เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงผลิตภัณฑ์ประกันภัยได้
 ้
 ่
 ปัจจัยที่อาจนำมาพิจารณาว่าเป็นความผิดพลาดในการให้บริการทางแพทย์มีดังตอไปนี้   3) มีความยืดหยุ่น (Flexibility) เนื่องจากเป็นกลุ่มคนผู้มีรายได้น้อย เป็นกลุ่มที่ไม่ได้มีลักษณะ
 1) ไม่ได้รับการดูแลที่เหมาะสมและถูกต้องตามมาตรฐาน   ความต้องการคล้าย ๆ กัน การออกผลิตภัณฑ์ไมโครอินชัวรันส์จึงต้องออกแบบให้เป็นไปตามความต้องการของกลุ่ม
 2) ได้รับบาดเจ็บจากความประมาทของผู้ให้บริการ   นั้น ๆ เช่น การจัดเก็บเบี้ยประกันภัยต้องเหมาะสมกับกระแสรายได้ที่ไม่สม่ำเสมอของผู้เอาประกันภัย

 3) ได้รับการสูญเสียหรือความเสียหายอย่างต่อเนื่องจากอาการบาดเจ็บ   4) ความง่าย (Simplicity) องค์ประกอบของไมโครอินชัวรันส์ ต้องเข้าใจง่ายทั้งรูปแบบผลิตภัณฑ ์
 การประกันภัยความรับผิดสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์ หรือการประกันภัยความรับผิดทาง    ประกันภัย เงื่อนไขกรมธรรม์ประกันภัยที่ไม่ซับซ้อน การเก็บเบี้ยประกันภัย ภาษาที่ใช้ในกรมธรรม์ประกันภัย
 ์
 ื
 การแพทย จะให้ความคุ้มครองความรับผิดตามกฎหมายสำหรับความบาดเจ็บต่อร่างกายหรือต่อจิตใจ หรอ          วิธีการจัดการกับข้อร้องเรียนที่เกิดขึ้นทำให้เข้าใจและยอมรับได้ง่าย
 ั
 การเสียชีวิตของคนไข้อนมีสาเหตุมาจากความผิดพลาด การละเว้น หรือการขาดความระมัดระวัง ในการดำเนินการ
 ่
 ี
 ี
 ให้บริการตามวิชาชีพทางการแพทย์ซึ่งกระทำโดยผู้เอาประกันภัยกรณีทมการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน            การประกันภัยสำหรับรายย่อย (ไมโครอินชัวรันส์) ที่สำคัญเช่น
 ี
 จากบุคคลภายนอกซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเวลาที่เอาประกันภัย (รวมชดใช้ค่าธรรมเนียม และค่าใช้จ่ายในการต่อสู้คด          6.1 การประกันอัคคีภัยที่อยู่อาศัยแบบประหยัดสำหรับรายย่อย (ไมโครอินชัวรันส์)
 การฟ้องร้องหรือการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน โดยความยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษรจากทางบริษัทประกันภัย)   เป็นการประกันภัยซึ่งให้ความคุ้มครองเฉพาะสิ่งปลูกสร้าง (ไม่รวมฐานราก) ที่ใช้เป็นที่อยู่อาศัยเนื่องจาก
 การประกันภัยความรับผิดสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์ที่มีขายในประเทศไทย จะมีเงื่อนไข  6.1.1  ไฟไหม้ ฟ้าผ่า ระเบิด โดยมีจำนวนเงินเอาประกันภัยตามลักษณะสิ่งปลูกสร้าง ดังนี้
 อาณาเขตความคุ้มครองภายในประเทศไทย คือ ต้องเป็นการให้การรักษาพยาบาลในประเทศไทย และจะต้องเปน  1) สิ่งปลูกสร้างที่เป็นคอนกรีต 300,000 บาท
 ็
 ความรับผิดตามกฎหมายที่เกิดจากคำพิพากษาหรือกระบวนการยุติธรรมของศาลไทยเท่านั้น    2) สิ่งปลูกสร้างที่เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ 150,000 บาท
 นอกจากนั้นผู้เอาประกันภัยควรตรวจสอบว่ามีข้อยกเว้นอะไรบ้างในกรมธรรม์ เช่น ไม่คมครองศัลยกรรม  3) สิ่งปลูกสร้างเป็นอาคารที่ไม่ใช่ตึก หรือครึ่งตึกครึ่งไม้ และไม่เป็นห้องแถวไม้ 100,000 บาท
 ุ้
 เพื่อความงามโดยเฉพาะ เป็นต้น   4) สิ่งปลูกสร้างเป็นห้องแถวไม้ 50,000 บาท
                         6.1.2  ภัยจากลมพายุ ภัยจากน้ำท่วม ภัยจากแผ่นดินไหวหรือภูเขาไฟระเบิด หรือคลื่นใต้น้ำ หรือสึนามิ
  การประกันภัยนี้เหมาะสำหรับ   ภัยจากลูกเห็บ ทุกภัยรวมกันแล้วไม่เกิน 10,000 บาทต่อปี
 1) ผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์ที่ต้องการความคุ้มครองเฉพาะรายบุคคล เช่น กุมารแพทย์ ศัลยแพทย์

 สูตินรีแพทย์ เป็นต้น
 2) โรงพยาบาลซึ่งจะต้องระบุในใบคำขอเอาประกันภัยให้ชัดเจนว่า ต้องการให้คุ้มครองผู้ประกอบวิชาชีพ
 ทางการแพทย์สาขาใดหรือประเภทใดในโรงพยาบาลแห่งนั้นบ้าง



                                                    ิ
                                                  ั
                                                        ั
                                                               ํ
                                                             ้
                                    ิ
                                   ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
                                      ิ
                                       ์
                                       ิ
   265   266   267   268   269   270   271   272   273   274   275