Page 7 - InsuranceJournal108
P. 7
BOD ความเสี่ยงที่ยอมรับได้
CEO
ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้
C-Suite ขีดจ�ากัดความเสี่ยง ขีดจ�ากัดความเสี่ยง ขีดจ�ากัดความเสี่ยง
ขีดจ�ากัด
ขีดจ�ากัด
ขีดจ�ากัด
ขีดจ�ากัด
ขีดจ�ากัด
ขีดจ�ากัด
Managers ความเสี่ยง ความเสี่ยง ความเสี่ยง ความเสี่ยง ความเสี่ยง ความเสี่ยง
ใครบ้างเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลักของ และยอมรับไม่ได้ (Unacceptable) และ
องค์กร ตัวอย่างเช่น นักลงทุนจะให้ ใช้ระบบสัญญาณไฟแดง เหลือง เขียว
ความส�าคัญกับรายได้หรือราคาหุ้น ใน ประกอบกัน หากค่าที่ค�านวณได้มีค่า
ขณะที่ผู้ก�ากับดูแลจะให้ความส�าคัญกับ เกินขีดแบ่งความเสี่ยง องค์กรจะต้องยก
ความมั่นคงของเงินกองทุน ระดับความส�าคัญขึ้นมาและหามาตรการ
เนื่องจากระดับความเสี่ยงที่ ในการจัดการ เช่น อัตราการเพิ่มขึ้นของ
้
็
ยอมรับไดเปนการมองในภาพรวม เราจึง เหตุการณ์ทุจริตที่ยอมรับได้คือน้อยกว่า
ควรมองให้ละเอียดลงไปอีกว่าในแต่ละ 1% ทนได้คือ 1-3% และยอมรับไม่ได้
ฝ่ายหรือแต่ละแผนกนั้นถูกอนุญาตให้ คือ มากกว่า 3% เป็นต้น
รับความเสี่ยงได้มากน้อยแค่ไหนภายใต้ ยอมรับได้ ทนได้ ยอมรับไม่ได้
ความรับผิดชอบที่มีอยู่ โดยใช้สิ่งที่เรียก <1% 1-3% >3%
วา ขีดจ�ากัดความเสี่ยง ขีดแบงความเสี่ยง
่
่
หรือ ดัชนีชี้วัดความเสี่ยง เป็นตัววัด ดัชนีชี้วัดความเสี่ยง (Key Risk
ขีดจ�ากัดความเสี่ยง (Risk Limit) Indicator) คือ ค่าพารามิเตอร์ที่คาด
เป็นการก�าหนดมูลค่าความเสี่ยงสูงสุด ว่าจะสามารถจะใช้ในการติดตามหรือ
ตัวอย่างของขีดจ�ากัดความเสี่ยง เช่น พยากรณ์การเปลี่ยนแปลงความเสี่ยง
ความเสียหายรายปีทั้งหมดที่เกิดขึ้นจาก ขององค์กร ควรมีการก�าหนดค่าดัชนีชี้
ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการซึ่งเป็นผลมา วัดความเสี่ยงที่ทนได้เพื่อใช้ส�าหรับการ
จากเหตุการณ์ที่คาดไว้และเหตุการณ์ที่ ติดตามผลและการตรวจสอบการฝ่าฝืน
ไม่คาดหวังจะไม่เกิน 10 ล้านบาท ส่วน ค่าดัชนีชี้วัดความเสี่ยงเหล่านี้ ตัวอย่าง
ตัวอย่างขีดจ�ากัดส�าหรับ 1 เหตุการณ์ ของการใช้ดัชนีชี้วัดความเสี่ยงเพื่อ
คือ ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากความ ติดตามความเสี่ยงด้านบุคลากรคืออัตรา
เสี่ยงด้านปฏิบัติการที่ไม่คาดหวังของ การหมุนเวียนของพนักงาน หากอัตรา
เหตุการณ์ใดที่เกิดขึ้นในระยะเวลา 1 ปี การหมุนเวียนของพนักงานต�่ากว่าร้อย
จะไม่เกิน 2 ล้านบาท ละ 5 ถือวาไมมีความเสี่ยง องคกรยังรับ
่
์
่
ขีดแบ่งความเสี่ยง (Risk ได้กับอัตราการหมุนเวียนในระดับนี้ ไม่มี
Threshold) เป็นอีกเครื่องมือหนึ่งที่ การยกระดับความเสี่ยงและยังไม่จ�าเป็น
ช่วยอธิบายความเสี่ยงที่ยอมรับได้ โดย ต้องมีวิธีการตอบสนอง หากอัตราการ
การก�าหนดค่าที่ยอมรับได้ส�าหรับความ หมุนเวียนอยู่ในช่วงร้อยละ 5-10 ถือว่า
เสี่ยงที่ต้องการจะวัด โดยการก�าหนด อาจมีความเสี่ยงเกิดขึ้นในอนาคต ควร
ระดับที่องค์กรพิจารณาแล้วเห็นว่ายอม มีการติดตามผลอยู่ตลอดและวิเคราะห์
้
้
รับได (Acceptable) ทนได (Tolerable) หาสาเหตุและมาตรการที่ควรด�าเนิน
7