Page 7 - InsuranceJournal110
P. 7

่
                                                                          ั
                                                                            ั
                                                                   ี
                                                                               ้
                                                                                 ี
                                                ุ
                                                            ั
                  ี
                 ท่สมบูรณ์จะต้องประกอบไปด้วยการระบ และขดจากดความเสยง การบงคบใชขด
                                                       ี
                                                         �
                 ความเสี่ยง การวัดและตรวจทานความ จากัความเส่ยง และการเรียนรู้จากความ
                                                    �
                                                            ี
                 เส่ยง การประเมินความเส่ยง มาตรฐาน เสี่ยงที่ได้เกิดขึ้น
                  ี
                                     ี
                             การจำาแนกคุณภาพของการบริหารความเสี่ยงของบริษัทประกันภัย
                           กำรจัดอันดับ                                  ค�ำจ�ำกัดควำม
                   ต�่ำ (Weak)                  •  บริษัทไม่สามารถที่จะควบคุมความเสี่ยงหลักอย่างต่อเนื่องและสม�่าเสมอ
                                                •  กระบวนการการควบคุมส�าหรับความเสี่ยงหลักที่มียังไม่สมบูรณ์
                                                •  บริษัทมีความสามารถจ�ากัดในการระบุ ประเมิน หรือบริหารความเสี่ยงหลักที่มีอยู่
                                                                      ี
                                                                         �
                                                                                   ี
                   เพียงพอ (Adequate)           •  บริษัทมีระบบควบคุมความเส่ยงสาหรับความเส่ยงหลักของบริษัท  แต่ขาดการมองภาพรวม
                                                  และพิจารณา portfolio ของความเสี่ยงทั้งหมดที่มีอยู่ จึงท�าให้บริษัทไม่สามารถระบุความ
                                                  เสี่ยงสูงสุดโดยรวมที่บริษัทสามารถรับได้
                                                •  ขีดจากัดความเส่ยงสาหรับความเส่ยงต่างๆ ถูกกาหนดโดยเป็นอิสระต่อกันและไม่มีการบูรณา
                                                                         ี
                                                                                  �
                                                             ี
                                                                �
                                                     �
                                                                                                           ี
                                                          ี
                                                                                                  �
                                                                                                              ี
                                                  การความเส่ยง บริษัทยังขาดกระบวนการในการระบุและเตรียมพร้อมสาหรับความเส่ยงท่อาจ
                                                  จะเกิดขึ้นในอนาคต
                                                •  ความสูญเสียที่เกิดขึ้นโดยทั่วไปอยู่ในขอบเขตที่บริษัทยอมรับได้ เว้นแต่มีความสูญเสียที่ไม่ได ้
                                                  คาดการณ์ไว้เกิดขึ้นและความสูญเสียนี้มีผลกระทบต่อความเสี่ยงหลักของบริษัท
                                                •  บริษัทอาจถูกจัดอันดับให้อยู่ในระดับเพียงพอถึงแม้ว่าจะมีการพิจารณาภาพรวมของความเส่ยง
                                                                                                               ี
                                                               ี
                                                                                      ื
                                                                        ี
                                                  และระดับความเส่ยงโดยรวมท่บริษัทยอมรับได้บนพ้นฐานของความสัมพันธ์ระหว่างความ
                                                                                                        ึ
                                                  เส่ยงและผลตอบแทน  และมีกระบวนการในการระบุความเส่ยงท่อาจจะเกิดข้นในอนาคต
                                                                                                ี
                                                    ี
                                                                                             ี
                                                  แต่กระบวนการในการควบคุมความเสี่ยงยังไม่สามารถพัฒนาจนมีประสิทธิภาพดี
                   ดี (Strong)                  •  บริษัทมีการใช้หลักเกณฑ์ที่เพียงพอส�าหรับการควบคุมความเสี่ยง
                                                •  บริษัทมีการพิจารณาภาพรวมของความเส่ยง ระดับความเส่ยงโดยรวมท่บริษัทยอมรับได้ และ
                                                                                          ี
                                                                                                  ี
                                                                              ี
                                                  การก�าหนดขีดจ�ากัดความเสี่ยงซึ่งสัมพันธ์กับผลตอบแทนซึ่งปรับด้วยความเสี่ยง
                                                                                         �
                                                                                                              ึ
                                                                                                     ี
                                                •  บริษัทมีกระบวนการในการระบุและเตรียมความพร้อมสาหรับความเส่ยงท่อาจจะเกิดข้นใน
                                                                                                  ี
                                                  อนาคต
                   ดีเยี่ยม (Excellence)        •  บริษัทมีความสามารถที่จะระบุ ประเมิน และจัดการความเสี่ยง ภาวะภัย และความเสียหาย
                                                                                                     ี
                                                                                            �
                                                       ึ
                                                  ท่เกิดข้นอย่างสมาเสมอและมีประสิทธิภาพ  เป็นไปตามขีดจากัดความเส่ยงและแนวทางท ี ่
                                                   ี
                                                              �
                                                              ่
                                                  บริษัทได้ก�าหนดไว้
                                                                                                 ี
                                                                                                         ี
                                                                                      ี
                                                      �
                                                •  การดาเนินงานของบริษัทช่วยเพ่มอัตราผลตอบแทนท่ปรับด้วยความเส่ยง ความเส่ยงและการ
                                                                        ิ
                                                  บริหารความเสี่ยงเป็นปัจจัยส�าคัญที่บริษัทค�านึงถึงในการตัดสินใจใดๆ อยู่เสมอ
                          ื
                        เน่องจากผลการประเมินการบริหารความเส่ยงของบริษัทประกันภัยและประกันภัยต่อส่วนใหญ่จะจัดอยู่ในระดับ
                                                           ี
                  “เพียงพอ” ในปี พ.ศ. 2552 S&P จึงได้จ�าแนกการจัดอันดับในระดับ “เพียงพอ” ออกเป็น 3 ระดับย่อยเพื่อชี้ให้เห็นถึง
                  ความแตกต่างของการบริหารความเสี่ยงของบริษัทที่ได้รับการจัดอันดับนี้
                             การจำาแนกคุณภาพของการบริหารความเสี่ยงของบริษัทประกันภัย
                                    ระดับ                                       ค�ำจ�ำกัดควำม
                   เพียงพอ (Adequate)                      •  ตามที่ได้ระบุไว้ในตารางข้างต้น
                   เพียงพอและมีกำรควบคุมควำมเสี่ยงอย่ำงดี    •  มีคุณสมบัติทุกข้อในระดับเพียงพอ
                   (Adequate With Strong Risk Controls)    •  มีการควบคุมความเสี่ยงหลักทุกความเสี่ยงได้เป็นอย่างดี
                   เพียงพอและมีแนวโน้มเป็นบวก              •  มีคุณสมบัติทุกข้อในระดับเพียงพอและมีการควบคุมความเสี่ยงอย่างดี
                                                                                                            ี
                   (Adequate With Positive Trend)          •  มีคะแนนวัฒนธรรมการบริหารความเส่ยงและการบริหารความเส่ยงเชิง
                                                                                         ี
                                                             กลยุทธ์ในระดับดีขึ้นไป
                                                                                                        ี
                                                           •  มีแนวโน้มจะได้รับการปรับผลการประเมินการบริหารความเส่ยงข้นไปเป็น
                                                                                                           ึ
                                                             ระดับ “ดี (Strong)” ภายในระยะเวลา 24 เดือน
                                                                                                                       7
       Newsleter ��������� Vol.110 Final.indd   7                                                                  5/3/11   3:16 PM
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12