Page 34 - InsuranceJournal121
P. 34
สังคม
สรรหามาเล่า
สูงวัย
โลกของเราได้เข้าสู่สังคมสูงวัยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538
โดยในปี พ.ศ. 2555 ประชากรโลกประมาณ 8% ของ
(6%) พร้อมกันน้น กลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว อาทิ ประเทศสมาชิกของ ในอาเซียน
ึ
ึ
ั
ประชากรท้งหมด (7,000 ล้านคน) มีอายุ 65 ปีข้นไป ซ่งประเทศ
พัฒนาแล้ว (16%) มีสัดส่วนผู้สูงอายุมากกว่าประเทศก�าลังพัฒนา
ั
ั
ื
ู
ิ
ั
สหภาพยุโรป อเมรกาเหนอ ได้เข้าสู่สงคมสงวยอย่างสมบูรณ์แล้ว ส�ำนักวิจัยและสถิติ บริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จ�ำกัด (มหำชน)
ในขณะท่ญ่ปุ่นได้ก้าวไปอีกข้นหน่งแล้ว โดยได้เข้าสู่สังคมสูงวัย
ี
ี
ึ
ั
ี
ระดับสุดยอด ซึ่งมีผู้สูงอายุถึง 30.4% ของประชากรญี่ปุ่น ในอาเซียนประเทศท่เข้าสู่สังคมสูงวัยแล้ว คือ สิงคโปร์และ
สาเหตทประเทศต่างๆ ได้เข้าส่สงคมสงวย เนองจากการท ่ ี ไทย อย่างไรก็ตาม ประเทศอื่นๆ ก็มีแนวโน้มที่จะเข้าสู่สังคม
่
ี
ุ
ู
ั
ื
ั
่
ู
ุ
ี
ั
ี
ระบบสาธารณสขและเทคโนโลยทางการแพทย์มการพฒนาอย่าง สูงวัยเช่นกัน
ั
ี
�
�
่
ึ
ต่อเน่องส่งผลให้อัตราการตายตาลงทาให้คนมีอายุท่ยืนยาวมากข้น ปัจจุบันอาเซียนประกอบด้วยประเทศสมาชิกท้งหมด 10
ื
ั
�
ิ
พร้อมกันน้นการคุมกาเนิดท่มีประสิทธิภาพยังส่งผลให้อัตราการเกิด ประเทศ โดยมีจานวนประชากรท้งส้นในปี พ.ศ. 2556 ถึง 606 ล้านคน
ี
�
ั
ื
ึ
ี
่
ี
ลดลงอกด้วย จากปัจจยดงกล่าวทาให้เกดการเปลยนผ่านทาง หรอคิดเป็น 1 ใน 10 ของประชากรโลก ซ่งอินโดนีเซยมีประชากรมาก
ั
�
ิ
ั
ี
ี
ั
ประชากรจากโครงสร้างท่มีอัตราการเกิดและตายท่สูงมาสู่อัตราการ ท่สุดถึง 247 ล้านคน หรือคิดเป็น 41% ของประชากรอาเซียนท้งหมด
ี
ี
เกิดและตายที่ต�่า ส่วนบรูไนนั้นมีประชากรน้อยที่สุดคือ 4 แสนคนเท่านั้น
ตาราง 1: จ�านวน และสัดส่วนประชากรตามกลุ่มอายุของประเทศในอาเซียน ปี พ.ศ. 2556
ประเทศ จ�านวนประชากร 0-14 15-64 สัดส่วน (%) 60+ 65+
(ล้านคน)
บรูไน 0.4 25.3 70.7 5.7 4
กัมพูชำ 14.7 30.1 65.7 6.7 4.2
อินโดนีเซีย 247.2 26.1 68.1 7.1 5.8
ลำว 6.5 32.1 63.9 6.9 4
มำเลเซีย 29.8 29.1 65.6 7.4 5.3
พม่ำ 49.1 24.4 70.3 7.5 5.4
ฟิลิปปินส์ 98.1 34.3 61.8 5.7 3.8
สิงคโปร์ 5.3 15.6 73.9 20 10.5
ไทย 64.6 18.7 71.4 12.5 9.9
เวียดนำม 90.7 22.8 71.1 9.5 6.1
อำเซียน 606.4 28.2 66.3 7.6 5.5
ที่มาข้อมูล: World Population Prospect, the 2012 Revision, United Nations
เม่อพิจารณาโครงสร้างประชากรตามกลุ่ม
ื
อายุ พบว่า สิงคโปร์และไทยมีสัดส่วนผู้มีอายุตั้งแต่
ึ
60 ปีข้นไปเกินกว่า 10% หรืออายุ 65 ปีข้นไป
ึ
เกินกว่า 7% ของประชากรท้งหมดในประเทศน้นๆ
ั
ั
แสดงได้ว่าสิงคโปร์และไทยได้เป็นสังคมสูงวัยแล้ว
ี
�
ื
สาหรับประเทศอ่นท่มีสัดส่วนท่เข้าใกล้เกณฑ์ ได้แก่
ี
ี
เวียดนาม อินโดนีเซีย พม่า และมาเลเซีย ท่ม ี
สัดส่วนสูงกว่า 5% อย่างไรก็ตาม ประชากรวัย
�
แรงงาน (15-64 ปี) ยังคงเป็นกาลังหลักของ
ทุกประเทศในอาเซียน โดยมีสัดส่วนระหว่าง 61.8-
73.9% ของประชากรทั้งหมด ในส่วนของประชากร
ั
วัยเด็ก (แรกเกิด-14 ปี) น้น สิงคโปร์และไทยม ี
สัดส่วนที่ต�่ากว่าประเทศอื่นๆ อย่างเห็นได้ชัดเจน
34 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 121