Page 36 - InsuranceJournal121
P. 36
เมื่อประเทศต่างๆ เข้าสู่สังคมสูงวัย ปัญหาที่ตามมา คือ การพึ่งพิงที่สูงขึ้น
ั
ู
เม่อประชากรสงวัยขน สัดส่วนผ้สูงอายุจะสูงข้น ในขณะทสัดส่วนคนวัยทางานจะลดลง โครงสร้างประชากรสะท้อนให้เห็นลกษณะ
ื
�
่
ี
ึ
ึ
ู
้
ี
ื
ึ
การพ่งพิงกันระหว่างประชากรกลุ่มอายุต่างๆ เม่อโครงสร้างประชากรเปล่ยนไป ลักษณะการพ่งพิงกันก็เปล่ยนไปด้วย ระดับของการพ่งพิง
ึ
ี
ึ
ระหว่างประชากรกลุ่มอายุต่างๆ นิยมวัดจาก อัตรำพึ่งพิง (Dependency ratio)
ตาราง 4: อัตราพึ่งพิงวัยชราของประเทศในอาเซียน พ.ศ. 2503-2553
ประเทศ 2503 2513 2523 2533 2543 2553
บรูไน 4.8 4.2 4.2 4.2 4.7 5.2
กัมพูชำ 5.5 6.1 7.1 6.9 7.4 8
อินโดนีเซีย 6.4 6.4 6.7 7.2 7.5 7.7
ลำว 6.9 6.8 6.8 6.8 6.7 6.3
มำเลเซีย 6.3 6.1 6.1 6.1 6.7 7.2
พม่ำ 7.2 7.2 7.4 7.3 7.3 7.4
ฟิลิปปินส์ 5.8 5.6 5.4 5.5 5.8 6.1
สิงคโปร์ 7.5 7.7 8.9 10.3 11.3 12.2
ไทย 6.5 6.9 8.2 9.5 11 12.4
เวียดนำม 9.9 10 10.1 10.3 9.9 9.3
อำเซียน 6.9 7 7.3 7.7 8 8.3
ที่มาข้อมูล: World Population Prospect, the 2012 Revision, United Nations
เมื่อพิจารณาถึงการพึ่งพิงวัยชราในอาเซียน พบว่ามีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างช้าๆ โดยใน พ.ศ. 2553 อัตราพึ่งพิงวัยชรามีจ�านวน 8 คน ต่อ
วัยท�างาน 100 คน เพิ่มจากเมื่อ 50 ปีที่แล้วเฉลี่ยเพียง 1 ปี แต่เมื่อพิจารณารายประเทศ พบว่า ประเทศไทยและสิงคโปร์มีผู้ที่ต้องพึ่งพิงวัยชรา
ค่อนข้างสูง คือ ผู้สูงอายุ 12 คนต่อวัยท�างาน 100 คน เพิ่มจากเมื่อ 50 ปีที่แล้วเฉลี่ยถึง 5 ปี ส่วนประเทศอื่นๆ ในอาเซียนผู้ที่ต้องพึ่งพิงวัยชรา
เพิ่มจากเมื่อ 50 ปีที่แล้วไม่สูงมากนัก โครงสร้างประชากรที่เปลี่ยนแปลงไปท�าให้ผู้ที่อยู่ในวัยแรงงานต้องรับภาระเลี้ยงดูผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น ซึ่ง
การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเป็นนัยส�าคัญที่ส่งผลต่อการลดลงของรายได้เฉลี่ยประชากร การออม รวมถึงรายจ่ายของทางภาครัฐที่เพิ่มขึ้นด้วย
ี
จากการเปล่ยนแปลงโครงสร้างทางประชากร จะเห็นได้ว่าภาวะเจริญพันธุ์และการมีชีวิตยืนยาวข้นของประชากรเป็นตัวกาหนดให้เกิด
�
ึ
ประชากรสูงวัยซึ่งจะเห็นได้ว่าปัจจุบันประเทศไทยและสิงคโปร์ได้กลายเป็นสังคมสูงวัยอย่างเต็มตัวไปแล้ว นอกจากนี้ สัดส่วนของประชากร
�
ึ
ี
ท่อายุ 65 ปีข้นไป ท่ได้จากการคาดประมาณทาให้เห็นว่าทุกประเทศในประชาคมอาเซียนจะต้องเผชิญกับสถานการณ์การสูงวัยของประชากร
ี
อย่างเล่ยงไม่ได้ แต่อาจจะแตกต่างกันท่เวลาโดยมีอัตราเจริญพันธุ์และการตายท่ลดลงรวมท้งปัจจัยท่ทาให้ประชากรมีอายุยืนยาวข้นเป็น
ี
�
ึ
ี
ั
ี
ี
�
ตัวกาหนดอัตราเร่งของการเข้าสู่สังคมสูงวัย สภาพปัญหาดังกล่าวข้างต้นอาจส่งผลกระทบต่อผู้สูงอายุในอนาคตท่อาจจะไม่มีลูกหลานให้
ี
พึ่งพิง หรือลูกหลานมีรายได้ไม่เพียงพอที่จะเลี้ยงดูผู้สูงอายุ ดังนั้น ผู้ที่จะเกษียณในอนาคตควรมีการเตรียมตัวเพื่อเกษียณแบบพึ่งพิงตนเอง
�
ี
ื
�
ได้ต้งแต่วันน้ และให้ความสาคัญกับการออมอย่างจริงจัง เพ่อสร้างหลักประกันว่าจะมีเงินออมอย่างเพียงพอสาหรับการใช้ชีวิตหลังเกษียณ
ั
อย่างมีความสุขและลดการพึ่งพิงลูกหลาน
ึ
อัตรำพ่งพงรวม (Total
ิ
dependency ratio) คือ สัดส่วน
ของเด็กและผู้สูงอายุต่อวัยแรงงาน
ในประเทศน้น โดยแบ่งออกเป็น
ั
อัตราพ่งพิงวัยเด็ก (Youth
ึ
ึ
dependency ratio) และอัตราพ่งพิง
วัยชรา (Oldage dependency
ratio) หากอัตราพ่งพิงดังกล่าว
ึ
มีค่าสูง ย่อมแสดงว่า ประเทศน้น
ั
มีจานวนผู้ท่ต้องพ่งพิงผู้ทางาน
�
�
ึ
ี
มากนั่นเอง
36 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 121