Page 15 - InsuranceJournal125
P. 15

รอบรู้ประกันภัย



                                       ตารางแสดงอัตราการเจริญพันธุ์รวมตั้งแต่ปี 2503-2573


           2503   2508    2513   2518   2523    2528   2533   2538    2543   2548   2553    2558   2563    2568
            --     --      --     --     --      --     --      --     --     --      --     --      --     --
           2508   2513    2518   2523   2528    2533   2538   2543    2548   2553   2558    2563   2568    2573
           6.13   5.99    5.05   3.92   2.95    2.30   1.99    1.77   1.60   1.49    1.41   1.36    1.38   1.43


                                    ที่มา:  World Population Prospects The 2012 Revision. United Nations

                 นอกจากนี้ “ดัชนีผู้สูงอายุ” เป็นมาตรวัดที่แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของประชากรวัยสูงอายุเทียบกับประชากรวัยเด็กมีการเพิ่ม
          ขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยท�าการเปรียบเทียบอัตราส่วนของจ�านวนประชากรผู้สูงอายุ (ตั้งแต่อายุ 60 ปีขึ้นไป) ต่อจ�านวนประชากรในวัยเด็ก (อายุต�่า
                                       ่
                                                                               �
          กว่า 15 ปี) 100 คน ถ้าดัชนีดังกล่าวมีค่าตากว่า 100 แสดงว่ามีจานวนประชากรผู้สูงอายุน้อยกว่าจานวนประชากรวัยเด็ก แต่ถ้าดัชนีมีค่ามากกว่า
                                       �
                                                       �
          100 แสดงว่ามีจ�านวนประชากรผู้สูงอายุมากกว่าจ�านวนประชากรเด็ก โดยในปี 2553 ประชากรวัยสูงอายุมีน้อยกว่าวัยเด็ก คือ 66.51 แต่เมื่อถึง
          ปี 2561 ประชากรวัยสูงอายุจะมีมากกว่าวัยเด็ก คือ 102.89 และจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจนในปี 2573 จะมีประชากรวัยสูงอายุเกือบเป็น 2 เท่า
                                            ตารางแสดงดัชนีผู้สูงอายุตั้งแต่ปี 2553-2573


                      2553   2555   2557    2559   2561   2563    2565   2567   2569    2571   2573
                     66.51   74.19  83.05   92.64  102.89  113.89  125.58  137.78  150.75  164.88  179.36


                     ที่มา: การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2553-2583 ส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ


                 ในขณะเดียวกัน “อัตราส่วนการเป็นภาระ (Dependency Ratio)” ของประชากรผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่
                                                                   ิ
                                                                         ิ
          อัตราส่วนการเป็นภาระของประชากรในวัยเด็กมีแนวโน้มลดลง โดยค่าดังกล่าวย่งมีมากย่งเป็นการสะท้อนให้เห็นว่าประชากรกลุ่มดังกล่าวเป็น
                                                                                                               ี
          ภาระต่อประชากรวัยแรงงานมาก จากกราฟจะเห็นได้ว่าอัตราส่วนการเป็นภาระของเด็กจะมีแนวโน้มลดลงสวนทางกับประชากรวัยสูงอายุท่ม ี
          อัตราส่วนการเป็นภาระที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จึงส่งผลให้อัตราส่วนการเป็นภาระรวมเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องเช่นเดียวกัน
                                           อัตราส่วนการเป็นภาระของเด็ก ผู้สูงอายุและรวม



























                     ที่มา: การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2553-2583 ส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ




                                                                        วารสารประกันภัย  เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2557  15
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20