Page 13 - InsuranceJournal125
P. 13
รอบรู้ประกันภัย
สถานการณ์สังคมผู้สูงอายุของไทยในปัจจุบันและอนาคต
รัชชัย กิจกุลอนันตเอก
เจ้าหน้าที่ช�านาญการ ฝ่ายวิชาการ
ั
ประเทศไทยเราได้ก้าวเข้าสู่ “สังคมผู้สูงอายุ” (Aged Society) แล้ว โดยต้งแต่ปี 2553 เป็นต้นมา สัดส่วนประชากรผู้สูงอายุต่อจ�านวน
ประชากรท้งหมดมีถึง 13.18% ซึ่งเกินว่าสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุท่กาหนดไว้ คือ 10% ข้นไป นอกจากน้จะเห็นได้ว่าในปี 2565 สัดส่วน
�
ั
ึ
ี
ี
ประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นถึง 20% ประเทศไทยจะกลายเป็น “สังคมสูงอายุสมบูรณ์ (Complete Aged Society)” และในปี 2579 สัดส่วนของ
ประชากรผู้สูงอายุจะสูงถึง 30.18% ซึ่งเป็น “สังคมสูงอายุระดับสุดยอด” (Super Aged Society)
สัดส่วนประชากรผู้สูงอายุต่อจ�านวนประชากรทั้งหมด
ที่มา: การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2553-2583 ส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ิ
ึ
ี
ั
ั
จากสัดส่วนผู้สูงอายุต่อจานวนประชากรท้งหมดท่เพ่มข้นอย่างต่อเน่องน้น เป็นผลมาจากโครงสร้างประชากรของประเทศไทยมีการ
ื
�
เปลี่ยนแปลง โดยได้มีการคาดการณ์ว่าจ�านวนประชากรในวัยเด็ก คือ อายุตั้งแต่ 0-14 ปี มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่องเช่นเดียวกับประชากรใน
วัยแรงงาน คือ อายุตั้งแต่ 15-59 ปี ก็ลดงอย่างต่อเนื่องเช่นกัน แต่ส�าหรับประชากรผู้สูงอายุ คือ ตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปนั้น กลับมีจ�านวนประชากรที่
ั
ิ
ึ
�
ื
ื
ึ
สูงข้นอย่างต่อเน่อง จึงเป็นสาเหตุท่ทาให้สัดส่วนจานวนประชากรผู้สูงอายุต่อจานวนประชากรท้งหมดมีแนวโน้มเพ่มข้นอย่างต่อเน่อง อย่างไร
ี
�
�
ก็ตามเมื่อพิจารณาอัตราการเพิ่มขึ้นของจ�านวนประชากรทั้ง 3 ประเภทข้างต้น จะเห็นได้ว่าอัตราการเพิ่มของประชากรทั้ง 3 ประเภทมีอัตราที่
ลดลง แต่ประชากรวัยสูงอายุก็ยังอยู่ในระดับที่สูงกว่าอัตราการเพิ่มของประชากรทั้ง 2 ประเภทข้างต้นรวมถึงประชากรรวมค่อนข้างมาก
การประมาณการจ�านวนประชากร จ�าแนกตามกลุ่มอายุ (สมมติฐานภาวะเจริญพันธุ์ระดับปานกลาง)
ที่มา: การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2553-2583 ส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
วารสารประกันภัย เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2557 13