Page 16 - InsuranceJournal125
P. 16

รอบรู้ประกันภัย




                                                                                   ี
                                                                             �
                                                        ี
                 ในอนาคตข้างหน้าสัดส่วนของประชากรในวัยแรงงานท่จะดูแลประชากรผู้สูงอายุมีจานวนท่ลดลง โดยสามารถดูได้จาก “อัตราส่วน
                                                ึ
                                                         ี
                                                                       �
                    ื
         ศักยภาพการเก้อหนุน (Potential Support Ratio)” ซ่งเป็นดัชนีท่แสดงถึงอัตราส่วนจานวนประชากรวัยแรงงานต่อประชากรผู้สูงอายุ เป็นมาตร
         ที่แสดงให้เห็นถึงศักยภาพในการเกื้อหนุนผู้สูงอายุว่ามีประชากรในวัยแรงงานกี่คนที่ท�าการดูแลเกื้อหนุนผู้สูงอายุ 1 คน จะเห็นว่าในปี 2553 มี
                                                                       ื
                                        ื
         ประชากรวัยแรงงาน 5 คน ในการดูแลเก้อหนุนผู้สูงอายุ 1 คน และลดลงอย่างต่อเน่องจน 20 ปีข้างหน้า คือ ปี 2573 ผู้สูงอายุจะได้รับการ
         เกื้อหนุนจากประชากรในวัยแรงงานเพียงแค่ 2 คน เท่านั้น
                                    ตารางแสดงอัตราส่วนศักยภาพการเกื้อหนุนตั้งแต่ปี 2553-2573

                      2553   2555   2557    2559   2561   2563    2565   2567   2569    2571   2573
                      5.08   4.71   4.33    3.98   3.65    3.35   3.07   2.81    2.58   2.38   2.21


                     ที่มา: การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2553-2583 ส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

                 จากการฉายภาพอนาคตของประเทศไทยในอีก 20 ปีข้างหน้า จะเห็นได้ว่าประเทศไทยก�าลังเผชิญกับสถานการณ์ประชากรวัยสูงอายุ

           ิ
             ึ
                                                                                                ึ
                                                               �
                      ื
         เพ่มข้นอย่างต่อเน่อง โดยในปัจจุบันไทยเองได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแล้วและกาลังเดินหน้ามุ่งไปสู่สังคมสูงอายุระดับสุดยอด ซ่งสถานการณ์ดังกล่าว
         จะกลายเป็นความท้าทายของประเทศไทยในการบริหารจัดการกับสถานการณ์ดังกล่าวซ่งครอบคลุมหลายมิติ ไม่ว่าจะเป็นเร่องการพัฒนาเศรษฐกิจ
                                                                                               ื
                                                                       ึ
                                                                             ี
                 ี
                                                                                                         ึ
           ี
         ท่ต้องเปล่ยนรูปแบบจากเศรษฐกิจเน้นแรงงาน (Labor Intensive) ไปเป็นระบบเศรษฐกิจท่เน้นการใช้ฐานความรู้และบริการมากข้น ปัญหา
                                                        ื
                                      ี
                                                                                           ี
         สวัสดิการต่างๆ ท้งของรัฐและเอกชนท่ต้องมีเพียงพอรวมไปถึงเร่องสุขภาพอนามัยและอาชีวอนามัยด้วย การเปล่ยนแปลงนโยบายการบริหาร
                       ั
                                              ุ
                                                                                                           ั
         ทรพยากรมนษย์ เช่น การขยายเวลาการเกษยณอายงานออกไป (Retirement) การใหการศกษาและความรแกผูสงอายและวยแรงงานในปจจบน
                                                                                                              ั
                                         ี
                                                                                                             ุ
                                                                      ้
                                                                                                 ั
                                                                                     ู
                                                                                     ้
           ั
                                                                          ึ
                   ุ
                                                                                          ู
                                                                                             ุ
                                                                                       ่
                                                                                         ้
                                                                                      �
                                                                                    ิ
                                                                         ี
                                                                  ื
                                                                                                         ี
                                             ึ
                                        ื
         ท่จะกลายเป็นผู้สูงอายุในอนาคตข้างหน้าเพ่อการพ่งพาตนเองและเป็นภาระแก่ผู้อ่นให้น้อยท่สุด และการมีส่งอานวยความสะดวกต่างๆ ท่เหมาะสม
           ี
                                                          ี
                                                                         ื
         และปลอดภัยแก่ผู้สูงอายุ ซ่งไทยเราเองจะต้องศึกษาจากประเทศท่มีประสบการณ์ในเร่องดังกล่าว ตัวอย่างเช่น ในสหรัฐอเมริกามีผลิตภัณฑ์
                              ึ
         ทางการเงินที่ออกแบบมาเพื่อรองรับผู้สูงอายุ เช่น ผลิตภัณฑ์ทางการเงินที่เรียกว่า “Managed Payout Fund” เป็นกองทุนรวมประเภทหนึ่ง
         ซึ่งในสหรัฐอเมริกามีบริษัทที่มีชื่อเสียงบริหารกองทุนดังกล่าว เช่น Vanguard Charles Schwab Fidelity และ PIMCO เป็นต้น ผู้ลงทุนจะซื้อ
         หน่วยลงทุนในกองทุนและได้รับรายได้เป็นรายเดือนจากกองทุนดังกล่าว โดยผู้จัดการกองทุนจะน�าเงินท่ได้จากผู้ลงทุนไปลงทุนในสินทรัพย์ต่างๆ
                                                                                   ี
                                                                                       ั
           ื
                                                         ั
                                             ี
                                                    ี
         เพ่อให้ได้ผลตอบแทนและจ่ายให้กับผู้ลงทุน ท้งน้ รายได้ท่ได้รับน้นจะข้นอยู่กับภาวะทางเศรษฐกิจในขณะน้น ซ่งแตกต่างจากการประกันชีวิต
                                                                                          ึ
                                                             ึ
                                           ั
         ประเภท Annuity ท่จะจ่ายผลตอบแทนเป็นรายได้ท่คงท่ และในกรณีท่ผู้ลงทุนมีความจาเป็นท่จะต้องใช้เงินอย่างเร่งด่วน สามารถขายหน่วยลงทุน
                                                 ี
                                                                            ี
                                                           ี
                                                                       �
                                              ี
                        ี
         ของตนเองในกองทุนดังกล่าวได้ แตกต่างจาก Annuity ที่บางครั้งผู้เอาประกันไม่สามารถไถ่ถอนมูลค่าเวนคืนกรมธรรม์เป็นเงินสดได้
                                                               ี
                 นอกจากน้ ยังมีการประกันภัยอีกประเภทหน่งสาหรับผู้สูงอายุท่เรียกว่า LTC Insurance หรือ Long-Term Care Insurance ซ่งม ี
                        ี
                                                 ึ
                                                   �
                                                                                                              ึ
         ทงท่ให้บริการโดยหน่วยงานภาครัฐและเอกชน โดยการประกันภัยดังกล่าวจะเป็นการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้เอาประกันภัยสาหรับการดาเนิน
                                                                                                            �
                                                                                                   �
           ้
             ี
           ั
         กิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจาวัน (Activities of Daily Living) เช่น การแต่งกาย การอาบน�้า การทานอาหาร การเดิน ฯลฯ การประกันภัยประเภท
                             �
         ดังกล่าวมีในประเทศสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร แคนาดา และญี่ปุ่น เป็นต้น ทั้งนี้ รูปแบบการประกันภัยจะมีความแตกต่างกันไปตามแต่ละ
                                                   �
                                                ั
         สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศน้น สาหรับประเทศไทยเองควรจะมีการร่วมมือกันท้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชนในการม  ี
                                                                                    ั
         นโยบายหรือมาตรการเพื่อรองรับกับปัญหาดังกล่าวที่ก�าลังจะใกล้เข้ามา ซึ่งจะเป็นโอกาสที่ท�าให้ทั้งธุรกิจประกันชีวิตและประกันวินาศภัยเข้าไป
         มีบทบาทเป็นส่วนหนึ่งในการรองรับ ช่วยเหลือและพัฒนาทั้งในระดับสังคมและระดับประเทศต่อไป
         16        วารสารประกันภัย  ฉบับที่ 125
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21